You are on page 1of 15

Case Analysis Report

Case 12
H.J. Heinz : Estimate the Cost of Capital in Uncertain Times

MGMG664 : Study Case in Finance

College of Management Mahidol University (CMMU)


Academic Year 2/2021
Table of Content
Company Background 3
Outstanding Heinz Debt Issues 5
Financial Analysis 7
Weighted Average Cost Of Capital : Wacc (Heinz) 10
การคํานวน WACC ซึ่งใช้ตน้ ทุนของผูถ้ ือหุ้นจาก CAPM MODEL 11
การคํานวน WACC ซึ่งใช้ตน้ ทุนของผูถ้ ือหุ้นจาก DIVIDEND DISCOUNT MODEL 13
Conclusion 14
Team Member 15
Company Background
ในปี 1869 Henry John Heinz ได้ก่อตั้งบริ ษทั ที่ดาํ เนินธุรกิจเกี่ยวกับอาหารเริ่ มจากผลิตภัณฑ์ horseradish ตํารับที่
ได้รับจากคุณแม่วางขาย โดยมีสโลแกนว่า 57 Varieties โดยเลข 57 นั้นมากจากเลขนําโชคของเขาและได้รับแรงบันดาลใจ
มาจากช่วงระยะเวลาที่ Heinz กําลังเดินทางด้วยรถไฟและเห็นฆษณาเกี่ยวกับรองเท้า 21 สไตล์ ต่อมาในปี 2010 บริ ษทั ของ
Heinz ก็กลายเป็ นยักษ์ใหญ่ในอุตสาหกรรมอาหารที่มีรายได้ 1 หมื่นล้านเหรี ยญสหรัฐ และมีพนักงานกว่า 29,600 คนทัว่
โลก Heinz มีการผลิตผลิตภัณฑ์ซ่ ึงแบ่งออกเป็ น 3 หมวดหมู่ ได้แก่
1. ซอสมะเขือเทศและซอสต่าง ๆ
2. อาหารและขนมขบเคี้ยว
3. อาหารสําหรับเด็กแรกเกิด

กลยุทธ์ของบริ ษทั Heinz คือการเป็ นผูน้ ําในแต่ละหมวดหมู่ของผลิ ตภัณฑ์ดังที่กล้าวมาข้างต้นโดยการสร้ าง


เอกลักษณ์ของแบรนด์ โดยบริ ษทั คาดหวังว่าใน 150 แบรนด์ภายใต้บริ ษทั จะต้องติดอันดับ 1 หรื อ อันดับ 2 ในตลาดนั้นๆ
โดยสิ นค้าที่โด่งดังที่สุดคือ ซอสมะเขือเทศ Heinz ด้วยยอดขาย 1.5 พันล้านเหรี ยญสหรัฐฯต่อปี หรื อ 650 ล้านขวด และ
สิ นค้าแบรนด์ที่โด่งดังไม่แพ้กนั ของ Heinz คือ Weight Watcher Heinz Bean และอาหารเด็กแรกเกิด Plasmon ซึ่ งแบรนด์
เหล่านี้ถือเป็ นสิ นค้าหลักของบริ ษทั ซึ่ งกว่า 15 แบรนด์อนั ดับต้นๆของ Heinz สร้างรายได้ ร้อยละ 70 ของรายได้ท้ งั หมด
และแต่ละแบรนด์ก็สร้างยอดขายมากกว่า 100 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ บริ ษทั ถือเป็ นบริ ษทั ใหญ่ในระดับโลกขยายสาขาไป
มากกว่า 200 ประเทศทัว่ โลก โดยบริ ษทั มีการแบ่งการบริ หารธุรกิจตามพื้นที่ได้แก่
• North America Consumer Product
• US Food Service
• Europe
• Asia Pacific
• Rest of the world

โดยรายได้ร้อยละ 60 มาจากประเทศนอกสหรั ฐอเมริ กา และสัดส่ วนรายได้ที่ได้มาจาก North America และ


Europe มีในสัดส่ วนที่เท่ากัน นอกจากนี้ บริ ษทั Heinz ยังมุ่งเน้นและผลักดันกลยุทธ์ในการขยายออกไปยังตลาดเกิดใหม่
(Emerging market) อีกด้วย
อย่างไรก็ตาม Heinz ยังคงต้องแข่งขันกับ Nestle และ Unilever ในตลาดผูบ้ ริ โภคระดับโลก รวมถึงบริ ษทั ที่ดาํ เนิน
ธุรกิจ ด้านอุตสาหกรรมอาหารในอเมริ การที่มีชื่อเสี ยงมีหลายบริ ษทั และเป็ นคู่แข่งของ Heinzได้แก่
• Kraft Food เน้นเรื่ องอาหารและเครื่ องดื่ม
• Campbell Soup เน้นเรื่ องอาหารบรรจุกระป๋ อง
• Delmonte Food เป็ นผูผ้ ลิตและจัดจําหน่ายรายใหญ่ที่สุดของแบรนด์อาหารคุณภาพสู งและอาหารสําหรับสัตว์เลี้ยง
และเคยอยูภ่ ายใต้การบริ หารของ Heinz
ตารางที่เปรี ยบเทียบกลยุทธ์ของ Heinz เมื่อเทียบกับคู่แข่งในตลาด

Organic Growth Organic Growth Differentiation Cost Leadership

• เพิ่มการเติบโตในกลุ่ม • จะมีกลยุทธ์ที่คล้าย • เน้นการพัฒนาสิ นค้าที่มี • เน้นการแข่งขันด้าน


สิ นค้าหลักที่มีอยู่ Heinz คือเน้นการพัฒนา คุณภาพสู ง เป็ นมื้อ ราคา
• เพิ่มอัตราการเติบโตใน สิ นค้าเพื่อขยายตลาด อาหารที่ง่ายต่อการ • เน้นยอดขายสิ นค้าใน
ตลาด Emerging market ภายใต้แบรนด์ที่ รับประทาน ราคาที่จบั ที่ผบู ้ ริ โภค
• เพิ่มศักยภาพองค์กร ด้วย หลากหลาย สามารถเข้าถึงได้
การเป็ นผูผ้ ลิตรายใหญ่
ทําให้มี Economic of
Scale เพื่อลดต้นทุน ทํา
ให้ผลกไรเพิ่มมากขึ้น

ตาราง เปรี ยบเทียบสิ นค้าและผลิตภัณฑ์ของ Heinz เมื่อเทียบกับคูแ่ ข่ง

• Ketchup • Canned Food • Soup and some biscuit • Daily product


• Condiments and sauce • Convenience Food • Canned Bean • Snack food,
• Frozen Food • Snack Food Convenience food
• Soups • Daily products • Canned fruit, Canned
• Beans and pasta meals Vegetable, Canned
• Infant nutrition Soup, Broth
• Processed Food • Pet food

Similar product to Heinz Some products similar to Some products similar to


Heinz Heinz
Outstanding Heinz Debt Issues
วิกฤตซับไพร์ มเริ่ มขึ้นที่ สหรั ฐอเมริ กา เกิดจากการเก็งกําไรในตลาดอสังหาริ มทรั พย์และสิ นเชื่ อ โดยสถาบัน
การเงิ นต่างๆ ของสหรั ฐอเมริ ก า ได้มีการลงทุนในตราสารหนี้ ที่มี สินเชื่ ออสังหาริ มทรั พย์เป็ นหลักทรั พย์ค้ าํ ประกัน
(Mortgage-Backed Securities) โดยเฉพาะตราสารซีดีโอ (Collateralized Debt Obligations – CDOs) ที่ใช้สินเชื่อด้อยคุณภาพ
(Sub – Prime Loan) เป็ นหลักประกันการชําระหนี้ เป็ นจํานวนมาก ต่อมาเมื่ ออสังหาริ มทรั พย์มีมูลค่าลดตํ่าลง และผูข้ อ
สิ นเชื่อมีการผิดนัดชําระหนี้มากขึ้น ทําให้สถาบันการเงินต่างๆ ที่ได้ลงทุนถือครองตราสารทางการเงินดังกล่าว ประสบกับ
ภาวะขาดทุนเป็ นอย่างมากจนหลายแห่งต้องประสบกับภาวะล้มละลายจึงเกิดปัญหาในภาคสถาบันการเงินอย่างรุ นแรงเป็ น
วงกว้าง สร้างความหวัน่ วิตกในระบบเศรษฐกิจการเงินทัว่ โลกเป็ นวิกฤตการณ์การเงิน (Financial Crisis) อย่างเต็มรู ปแบบ
จากสาเหตุปัญหาการตึงตัวของสภาพคล่องทางการเงิน (Credit Crunch) เนื่องจากสถาบันการเงินต่างๆ มีความไม่มน่ั ใจใน
สถานะทางการเงินระหว่างกันจึงทําให้มีความเข้มงวดขึ้น ในการให้กูย้ ืมเงินระหว่างธนาคาร รวมถึงมีการชะลอการให้
สิ นเชื่อแก่ภาคธุรกิจ เนื่องจากความวิตกกังวล ในเรื่ องการผิดนัดชําระหนี้ เมื่อสถาบันการเงินต่างๆและภาคธุรกิจเอกชน
ขาดสภาพคล่องในการดําเนินธุรกิจ จึงลุกลามกลายเป็ นปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจชะลอตัวไปทัว่ โลกและเข้าสู่ภาวะถดถอยทาง
เศรษฐกิจ (Economic Recession) ในที่สุด

ในช่วงเดือนสิ งหาคม 2008 สถาบันการเงินทัว่ โลกมียอดขาดทุนและการลดค่าทางบัญชีที่เกี่ยวข้องกับสิ นเชื่อซับ


ไพรม์เกินกว่า 5 แสนล้านดอลลาร์ สหรัฐ กําไรของธนาคารสหรัฐ 8,533 แห่ ง ที่รับรองโดยบรรษัทประกันเงินฝากแห่ ง
สหรัฐลดลงจาก 3.52 หมื่นล้านดอลลาร์ในไตรมาสที่ 4 ปี 2006 เหลือเพียง 646 ล้านดอลลาร์ ในไตรมาสเดียวกันของปี 2007
ซึ่ งเป็ นผลมาจากการผิดนัดชําระหนี้ที่เพิ่มขึ้นจํานวนมากและค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ และนับเป็ นผลประกอบการที่แย่ที่สุด
ตั้งแต่ปี 1990 ตลอดปี 2007 ธนาคารเหล่านี้มีกาํ ไรประมาณ 1 แสนล้านดอลลาร์ ซึ่งลดลงประมาณร้อยละ 31 จาก 1.45 แสน
ล้านดอลลาร์ซ่ ึ งเป็ นผลกําไรที่สูงเป็ นสถิติในปี 2006 กําไรในไตรมาสแรกของปี 2008 คือ 1.93 หมื่นล้านดอลลาร์ ซึ่ งลดลง
ถึงร้อยละ 46 เมื่อเทียบกับปี ก่อนหน้า

ภาคการเงิ นเริ่ มรั บรู ้ ถึงผลของวิกฤติ ในครั้งนี้ ต้ งั แต่เดื อนกุมภาพันธ์ 2007 ด้วยการขาดทุนถึ ง 1.05 หมื่ นล้าน
ดอลลาร์ ของเอชเอสบีซี ซึ่ งเป็ นประกาศแรกของการขาดทุนจากตราสารซี ดีโอหรื อเอ็มบีโอ ตลอดปี 2007 บริ ษทั สิ นเชื่อ
มากกว่า 100 แห่ งถูกปิ ด พักกิจการ หรื อถูกขายต่อ ผูบ้ ริ หารระดับสู งก็โดนผลกระทบด้วย เช่นประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร
ของเมอร์ริล ลินช์และซิตีกรุ๊ ปลาออกห่างกันไม่ถึงสัปดาห์ สถาบันอื่น ๆ ก็ตอ้ งควบรวมกิจการเพื่อความอยูร่ อด

จากภาวะวิกฤตดังกล่าวส่ งผลให้เกิดความไม่แน่นอนของการฟื้ นตัวทางเศรษฐกิจ และความกังวล เกี่ยวกับอัตรา


การจ้างงาน ผูบ้ ริ โภคหันมาเก็งกําไรในราคาล่วงหน้าของสิ นค้าต่างๆให้ความสําคัญกับราคาสิ นค้าอุปโภคบริ โภคมากขึ้น
ทําให้เกิดวิกฤตราคาอาหารโลกและนํ้ามันขึ้นราคา ซึ่งส่งผลดีต่อบริ ษทั ผูผ้ ลิตอาหาร เห็นได้จากในปี 2009-2010 Heinz มี
ผลการดําเนินงานดีกว่าปี 2008 โดยทัว่ ไปผลการดําเนินงานของบริ ษทั ผูล้ ิตอาหารไม่อ่อนไหวต่อภาวะเศรษฐกิจและอาจ
ได้รับประโยชน์จากความไม่แน่นอนของตลาด เห็นได้จากรู ปที่ 12.1 ในปี 2008-2010 ราคาหุ้นของ Heinz ปรับตัวเพิ่มขึ้น
มากกว่า S&P 500 Index
ประเด็นเคสศึกษา

ในเคสศึกษานี้ นักวิเคราะห์ทาํ การวิเคราะห์และหาค่า WACC ของ H. J. Heinz Company โดยวิเคราะห์จากสถานะ


การเงินของบริ ษทั รวมทั้งปั จจัยจากระบบเศรษฐกิจมหภาค ณ ขณะนั้นที่มีความผันผวนมาก และการเกิดภาวะเศรษฐกิจ
ถดถอย (Economic Recession) หลังจากช่ วงปี 2007-2009 (วิกฤตซับไพร์ ม) โดยใช้การหา WACC ทั้งจาก CAPM และ
DDM
Financial Analysis
งบแสดงฐานะทางการเงิน

*number in thousands except per-share amounts; fiscal year ends in April

Balance sheet 2008 2009 2010 CAGR


Cash 617,687 373,145 483,253 -7.86%
Net receivables 1,161,481 1,171,797 1,045,338 -3.45%
Inventories 1,378,216 1,237,613 1,249,127 -3.23%
Other current assets 168,182 162,466 273,407 17.58%
Total current assets 3,325,566 2,945,021 3,051,125 -2.83%
Net fixed assets 2,104,713 1,978,302 2,091,796 -0.20%
Other noncurrent assets 5,134,764 4,740,861 4,932,790 -1.33%
Total assets 10,565,043 9,664,184 10,075,711 -1.57%
Accounts payable 1,247,479 1,113,307 1,129,514 -3.26%
Short-term debt 124,290 61,297 43,853 -29.34%
Current portion of long-term debt 328,418 4,341 15,167 -64.12%
Other current liabilities 969,873 883,901 986,825 0.58%
Total current liabilities 2,670,060 2,062,846 2,175,359 -6.60%
Long-term debt 4,730,946 5,076,186 4,559,152 -1.23%
Other noncurrent liabilities 1,276,217 1,246,047 1,392,704 2.95%
Tota noncurrent liabilities 6,007,163 6,322,233 5,951,856 -0.31%
Equity 1,887,820 1,279,105 1,948,496 1.06%
Total liabilities and equity 10,565,043 9,664,184 10,075,711 -1.57%
Shares outstanding (in millions of dollars) 311.45 314.86 317.69 0.66%
ณ ปี 2010 บริ ษทั มี สินทรั พย์รวม 10,075,711 ล้านดอลลาร์ โดยแบ่งเป็ นสิ นทรั พย์หมุนเวียน 305,1125 ล้าน
ดอลลาร์ คิดเป็ นร้อยละ 30.28 ของส่ วนของสิ นทรัพย์รวม และสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน 7,024,586 ล้านดอลลาร์ คิดเป็ นร้อย
ละ 69.72 ของส่ ว นของสิ น ทรั พ ย์ร วม ซึ่ ง สิ น ทรั พ ย์ห มุ น เวี ย นส่ ว นใหญ่ คื อ Inventories 1,249,127 ล้า นดอลลาร์ และ
สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนส่วนใหญ่คือ Other Non-Current Assets 4,932,790 ล้านดอลลาร์

ทั้งนี้ ในปี 2010 บริ ษทั มี หนี้ สินรวม 5,951,856 ล้านดอลลาร์ โดยแบ่งเป็ นหนี้ สินหมุนเวียน 2,175,359 ล้าน
ดอลลาร์ คิดเป็ นร้อยละ 21.59 ของส่วนของหนี้สินทั้งหมด และหนี้สินไม่หมุนเวียน 5,951,856 ล้านดอลลาร์ คิดเป็ นร้อยละ
59.07 ของส่ วนของหนี้สินทั้งหมด ซึ่ งหนี้สินหมุนเวียนส่ วนใหญ่ ได้แก่ Accounts payable เท่ากับ 1,129,514 ล้านดอลลาร์
คิ ด เป็ นร้ อ ยละ 51.92 ของส่ ว นของหนี้ สิ น หมุ น เวี ย น ส่ ว นหนี้ สิ น ไม่ ห มุ น เวี ย นส่ ว นใหญ่ คื อ Long-term debt เท่ า กับ
4,559,152 ล้านดอลลาร์ คิดเป็ นร้อยละ 76.6 ของส่ วนของหนี้สินไม่หมุนเวียน โดยบริ ษทั มีส่วนของผูถ้ ือหุ้น 1,948,496
ล้านดอลลาร์ ซึ่งเป็ นทุนที่ออกและชําระเต็มมูลค่าแล้ว 317.69 ล้านดอลลาร์

โดยจากการวิเคราะห์ พบว่า สิ นทรัพย์รวมมีอตั ราการเติบโตเฉลี่ยลดงร้อยละ 1.57 โดยสิ นทรัพย์หมุนเวียนมีอตั รา


การเติบโตเฉลี่ยลดงร้อยละ 2.83 สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนมีอตั ราการเติบโตเฉลี่ยลดงร้อยละ 1.53 คาดการณ์ได้ว่า บริ ษทั อาจมี
สิ นทรัพย์ท่ีลดลงในอนาคต สําหรับการเติบโตของสิ นทรัพย์ที่มีสภาพคล่องสู ง เช่นเงินสด ลูกหนี้การค้า เติบโตลดลงอย่างมี
ในนัยสําคัญ

ในส่ วนของหนี้สิน พบว่ามีอตั ราการเติบโตเฉลี่ยลดงร้อยละ 1.57 โดยหนี้ สินหมุนเวียนมีอตั ราการเติบโตเฉลี่ย


ลดลงร้อยละ 6.6 เนื่องจากบริ ษทั มีการชําระหนี้คืนที่เพิ่มขึ้นอย่างมีนยั สําคัญ โดยมีอตั ราการเติบโตเฉลี่ยของการชําระหนี้คือ
ร้อยละ 64.12 สําหรับหนี้สินไม่หมุนเวียนมีอตั ราการเติบโตเฉลี่ยลดงเพียงร้อยละ 0.31 เนื่องจากหนี้สินระยะยาวที่ลดลงแต่
หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่นๆ ยังคงเพิ่มขึ้น

Income Statement

2008 2009 2010 CAGR


Revenue 9,885,556 10,011,331 10,494,983 3.04%
Costs of goods sold 6,233,420 6,442,075 6,700,677 3.68%
Gross profit 3,652,136 3,569,256 3,794,306 1.93%
SG&A expense 2,081,801 2,066,810 2,235,078 3.62%
Operating income 1,570,335 1,502,446 1,559,228 -0.35%
Interest expense 323,289 275,485 250,574 -11.96%
Other income (expense) -16,283 92,922 -18,200 5.72%
Income before taxes 1,230,763 1,319,883 1,290,454 2.40%
Income taxes 372,587 375,483 358,514 -1.91%
Net income after taxes 858,176 944,400 931,940 4.21%
Adjustments to net income -13,251 -21,328 -67,048 124.94%
Net income 844,925 923,072 864,892 1.17%
Diluted EPS 2.61 2.89 2.71 1.90%
Dividends per share 1.52 1.66 1.68 5.13%
Common Size of Income Statement

2008 2009 2010


Revenue % 100.00% 100.00% 100.00%
Costs of goods sold % 63.06% 64.35% 63.85%
Gross profit % 36.94% 35.65% 36.15%
SG&A expense % 21.06% 20.64% 21.30%
Operating income % 15.89% 15.01% 14.86%
Interest expense % 3.27% 2.75% 2.39%
Other income (expense) % -0.16% 0.93% -0.17%
Income before taxes % 12.45% 13.18% 12.30%
Income taxes % 3.77% 3.75% 3.42%
Net income after taxes % 8.68% 9.43% 8.88%
Adjustments to net income % -0.13% -0.21% -0.64%
Net income % 8.55% 9.22% 8.24%
เมื่อดูจากอัตราการเติบโตแบบ CAGR บริ ษทั Heinz มียอดขายเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 3.04 ซึ่ งในส่ วนของต้นทุนขาย
ก็มีอตั ราการเพิ่มขึ้นเฉลี่ยที่ใกล้เคียงกันก็คือร้อยละ 3.68 ส่งผลให้บริ ษทั Heinz มีกาํ ไรขั้นต้นอยูใ่ นสัดส่วนที่ค่อนข้างคงที่อยู่
ที่ประมาณร้อยละ 36 ของยอดขาย ในส่ วนของรายได้ก่อนหักภาษี บริ ษทั Heinz มีสัดส่ วน Common อยู่ที่ประมาณร้อยละ
12.50 ของรายได้ โดยค่าใช้จ่ายส่ วนมากจะเป็ นในเรื่ องของ SG&A ซึ่ งคิดเป็ นประมาณร้อยละ 21 ของรายได้ ในส่ วนของ
ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยบริ ษทั Heinz มีการบริ หารในส่ วนนี้ได้ดี จึงทําให้อตั ราการเติบโต CAGR มีค่าติดลบอยู่ที่ร้อยละ -11.96
และสัดส่ วน Common Size ก็มีอตั ราที่ลดลงทุกปี ส่ วนค่าใช้จ่ายทางภาษีก็มีอตั ราที่ลดลงทุกปี เช่นกัน ซึ่ งมีอตั ราการเติบโต
CAGR อยู่ท่ีร้อยละ -1.91 ส่ งผลให้บริ ษทั เหลือกําไรหลังหักดอกเบี้ย และภาษีอยู่ที่เฉลี่ยร้อยละ 9 ของรายได้ โดยบริ ษทั
Heinz ก็ได้มีการปรับตัวเลขกําไรหลังหักดอกเบี้ย และภาษี ทุกปี โดยมีการหักบางส่ วนที่อาจจะไม่สะท้อนผลประกอบการ
จริ งของบริ ษทั จึงทําให้กาํ ไรสุ ทธิที่เหลือของบริ ษทั มีสัดส่วน Common Size อยูท่ ี่ประมาณปี ละ 8.5 ของรายได้

ในส่วนของกําไรต่อหุ้นจะอยูป่ ระมาณ 2.61 ถึง 2.89 เหรี ยญต่อหุ้น โดยปรับลดลงเล็กน้อยในปี 2010 และในส่วน
ของการจ่ายเงินปันผล บริ ษทั Heinz มีการจ่ายเงินปันผลต่อหุ้นที่เพิ่มขึ้นทุกปี
Weighted Average Cost of Capital : WACC (Heinz)
Book Value WACC

ในส่วนนี้จะเป็ นการคํานวน WACC จาก Book Value ที่สามารถหาได้จากงบการเงินของบริ ษทั Heinz โดยจะเป็ นการใช้ค่า
Book Value of debt และ Book Value of equity

โดยสู ตรการคํานวน WACC คือ

WACC = (Wd*Rd*(1-T)) + (We*Re)

โดย

Wd = Total Debt / (Total Debt +Total Equity)

We = Total Equity / (Total Debt +Total Equity)

Rd = Cost of Debt

Re = Cost of Equity = Risk free rate + (Beta*Market risk premium)

T = Corporate tax rate

ตารางการคํานวนของบริษัท Heinz

2009 2010
Income before taxes 1,319,883 1,290,454
Income taxes 375,483 358,514
Tax rate 28.4% 27.8%
Short-term debt 61,297 43,853
Current portion of long-term debt 4,341 15,167
Long-term debt 5,076,186 4,559,152
Equity 1,279,105 1,948,496
Total debt + Equity 6,420,929 6,566,668
Wd 80.1% 70.3%
We 19.9% 29.7%
การคํานวน WACC ซึ่งใช้ ต้นทุนของผู้ถือหุ้นจาก CAPM Model
Cost of debt

Rate
Bond 1 (Given) 6.75%
Bond 2 (Given) 6.63%
Average 6.69%
Cost of equity

2009 2010
Risk free rate (10-Y U.S treasury yield) 3.16% 3.69%
Market risk premium (Given) 7.50% 7.50%
Beta 0.65 0.65
Cost of equity 8.04% 8.57%
WACC

2009 2010
Wd 80.1% 70.3%
Cost of debt 6.69% 6.69%
Tax rate 28.4% 27.8%
We 19.9% 29.7%
Cost of equity 8.04% 8.57%
WACC 5.43% 5.94%
จะได้ค่า WACC ที่คาํ นวนจาก Book Value ของบริ ษทั Heinz ในปี 2009 = 5.43% และ ในปี 2010 = 5.94% ซึ่ งมี
ค่าที่สูงกว่าเนื่องจากในปี 2010 นั้นมีสัดส่วนของส่ วนทุน (Equity) ที่สูงกว่าในปี 2009 อยูป่ ระมาณ 10% และ Re หรื อ Cost
of equity ในปี 2010 สู งกว่าในปี 2009 อยู่ 0.53% เป็ นผลให้ค่า WACC นั้นมีค่าสู งขึ้นจากปี 2009

Scenario Analysis (2010)

Market risk premium Cost of equity WACC


5% 6.41% 5.30%
6% 7.06% 5.49%
8% 8.36% 5.88%
จากการทํา Scenario Analysis ของค่า WACC ในปี 2010 โดยให้ค่า Market risk premium (MRP) นั้นเปลี่ยนแปลง
ไป เพราะค่า Market risk premium นั้นมีความผันผวน และยากที่จะคาดเดาได้อย่างถูกต้อง ซึ่งจะใช้เป็ นค่า 5%, 6% และ 8%
ตามการวิเคราะห์ของทาง Case analysis
สําหรับ MRP = 5% จะได้ WACC = 5.30%, สําหรับ MRP = 6% จะได้ WACC = 5.49% และสําหรับ MRP = 8%
จะได้ WACC = 5.88% ซึ่ งจะสังเกตุได้ว่าค่าของ MRP ที่ เปลี่ ยนแปลงไป 1% จะส่ งผลให้ WACC เพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อย
เท่านั้น

Comparable Firm

2010 Kraft Campbell Soup Del Monte


Book value of equity 25,972 728 1,827
Book value of debt 18,990 2,624 1,290
We 57.8% 21.7% 58.6%
Wd 42.2% 78.3% 41.4%
Beta 0.65 0.55 0.70
Cost of debt 5.12% 4.36% 6.19%
Tax rate (U.S. corporate tax rate in 2010) 35% 35% 35%
Risk free rate (10-Y U.S treasury yield) 3.69% 3.69% 3.69%
Market risk premium (Given) 7.50% 7.50% 7.50%
WACC 6.35% 3.92% 6.91%
เมื่อทําการเปรี ยบเทียบกับบริ ษทั อื่นๆ ค่า WACC ของ Heinz = 5.94% ซึ่งจะอยูใ่ นช่วงใกล้เคียงกับค่าเฉลี่ย WACC
ของทั้ง 3 บริ ษทั ที่ = 5.72% นั้นหมายความว่า บริ ษทั Heinz มีตน้ ทุนของเงินทุนที่สูงกว่าค่าเฉลี่ยของบริ ษทั อื่นเพียง
การคํานวน WACC ซึ่งใช้ ต้นทุนของผู้ถือหุ้นจาก Dividend Discount Model

2008 2009 2010 2011


Dividend 1.52 1.66 1.68 1.77
P0 $34.42 $46.87
Growth 9.21% 1.20% 5.21%

2008 2009 2010


Re(DDM) 14.09% 4.98%
Rd 7.47% 5.36%
Short Term Debt 452,708.00 65,638.00 59,020.00
Long Term Debt 4,730,946.00 5,076,186.00 4,559,152.00
Debt 5,183,654.00 5,141,824.00 4,618,172.00
Weight(ST) 1.28% 1.28%
Weight(LT) 98.72% 98.72%
WACC 7.09% 4.20%

การใช้วิธีการคํานวณต้นทุนของผูถ้ ือหุ้นจาก Dividend Discount Model เหมาะสําหรับกรณี ที่เงินปันผลจะเพิ่มขึ้น


ในอัตราที่เท่าๆกันทุกงวด และบริ ษทั ต้องมีการจ่ายเงินปันผลอย่างต่อเนื่อง สามารถคํานวณ WACC ในปี 2009 และ 2010ได้
เท่ากับ 7.09% และ 4.20% ตามลําดับ แต่อย่างไรก็ตาม ในกรณี ของ Hienz พบว่า มีอตั ราการเพิ่มขึ้นของเงินปันผลในแต่ละปี
มีความแตกต่างกันค่อนข้างมาก ส่ งผลให้ตน้ ทุนของผูถ้ ือหุ้นที่คาํ นวณได้ในแต่ละปี มีค่าแตกต่างกันค่อนข้างมาก ถึงแม้จะ
ใช้อตั ราการเพิ่มขึ้นของเงินปั นผลเฉลี่ยแล้วก็ตาม ดังนั้นวิธีการคํานวณต้นทุนของผูถ้ ือหุ้นจาก Dividend Discount Model
จึงไม่เหมาะสมในการนํามาใช้กบั Heinz
Conclusion
ต้นทุนของเงินทุนเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนัก (WACC) เป็ นหลักประมาณทุนที่เหมาะสม อัตราคิดลดการตัดสิ นใจพิจารณา
ความเสี่ ยงและความสามารถในการเป็ นหนี้ มักถูกนําไปใช้ในการเปรี ยบเทียบกับผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับจากการ
ลงทุน โดย WACC จะนําต้นทุนของเงินทุน 2 ส่ วน มาถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนัก ประกอบด้วย ต้นทุนของเงินทุนจากการกูย้ ืม
และต้นทุนของเงินทุนจากผูถ้ ือหุ้น ซึ่ งต้นทุนของเงินทุนจากการกูย้ ืมจะดูสัดส่ วนของหนี้เมื่อเทียบกับเงินลงทุนทั้งหมด
(Wd) และต้น ทุ น ของเงิ นทุน จากผูถ้ ื อ หุ้ นจะดู สั ด ส่ ว นของเจ้า ของเมื่ อ เที ย บกับเงิ นลงทุน ทั้งหมด (Wd) หากพิ จ ารณา
ผลตอบแทนที่คาดหวังได้มากกว่า WACC ที่คาํ นวณได้ ถือว่าคุม้ ค่าต่อการลงทุน หากได้นอ้ ยกว่า ก็จะไม่คมุ้ ค่าต่อการลงทุน

ราคาหุ้นของบริ ษทั Heinz ในปี 2010 ในตลาด S&P 500 ที่ปรับสู งขึ้นสามารถอธิ บายถึง market value และส่ วน
equity ที่เพิ่มขึ้นของ Heinz ได้ อัตราส่ วนของ debt to equity ที่ลดลงในปี 2010 จากปี 2009 ก็เนื่ องมาจากโครงสร้างของ
ส่ วน equity ที่เพิ่มขึ้นจากมูลค่าหุ้นที่บนั ทึกของบริ ษทั Heinz ที่กลับมาสู งขึ้น ซึ่ งเป็ นหนึ่ งในปั จจัยสําคัญในการคํานวณ
WACC

WACC ของ Heinz ในปี 2010 สู งกว่า Campbell Soup แต่ยงั น้อยกว่า Kraft และ Del Monte นั้นแสดงว่า Heinz ถือ
ว่าสามารถควบคุมต้นทุนการทําธุ รกิจปี 2010 ได้ดีกว่า Kraft และ Del Monte และควบคุมต้นทุนการทําธุ รกิจปี 2010 ได้
ดีกว่าปี 2009 ถึงแม้ว่าจะแตกต่างกันไม่มากระหว่าง 2 ปี ซึ่งคาดการณ์ได้ว่า Heinz จะยังคงมีความสามารถในการแข่งขันใน
ตลาดกับคู่แข่งได้อยูส่ ังเกตุได้จากการคุมระดับ WACC ที่ต่าํ กว่า
Team Member

1. Mr. Paphonsan Jirawanphan Student ID : 6350024


2. Miss Thanunya Swakpibool Student ID : 6350108
3. Mr. Vinithi Thongkampala Student ID : 6350116
4. Miss Kanoknad Kalaphakdee Student ID : 6350214
5. Mr. Suppawit Wareesurahan Student ID : 6350218
6. Miss Pobporn Jeasakul Student ID : 6350222
7. Miss Chattraporn Mesawas Student ID : 6350238

You might also like