You are on page 1of 17

ขอสอบภาคทฤษฎีระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17
The Seventeenth Thailand Astronomy Olympiad: 17th TAO
ณ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
7 ธันวาคม 2563 เวลา 8:30 –12:30 น.

คําแนะนํา
1. มีขอสอบ 12 ขอ คะแนนรวม 250 คะแนน ใหเวลาทําขอสอบ 4 ชั่วโมง
2. ใชปากกาสีน้ําเงินหรือสีดําเทานั้น
3. ในแตละขอมีกระดาษสรุปคําตอบและกระดาษเขียนตอบ
4. กรรมการจะตรวจเฉพาะกระดาษสรุปคําตอบและกระดาษเขียนตอบเทานั้น ใชเฉพาะ
ดานหนาและเขียนภายในกรอบที่กําหนดใหเทานั้น เขียนทุกสิ่งที่คิดวาจําเปนในการ
แสดงวิธีทําและตองการใหตรวจลงบนกระดาษเขียนตอบ
5. ในการตอบคํ าถามที่ เป น ตัวเลขตองตอบใหมีจํา นวนเลขนัยสํา คัญที่ส อดคลองกับ
ขอมูลที่ใหมา
6. ตองใสหมายเลขประจําตัวนักเรียนในชองที่หัวกระดาษสรุปคําตอบและกระดาษเขียน
ตอบทุกแผนที่ใช นอกจากนั้นบนกระดาษเขียนตอบของแตละขอใหเขียนเลขขอและเลข
ลําดับหนาของกระดาษเขียนตอบของขอนั้นดานบนกระดาษเขียนตอบที่ใชทุกแผนให
ชัดเจน ถาแผนใดใชทดหรือไมตองการใหตรวจใหขีดกากบาทตลอดหนานั้น
7. ถานักเรียนตองการกระดาษเขียนตอบหรือกระดาษทดเพิ่มเติมใหแจงกรรมการคุมสอบ
8. เมื่อทําเสร็จแลวใหจัดเรียงกระดาษสรุปคําตอบไวบนสุด ตามดวยกระดาษเขียนตอบ
กระดาษคําถาม กระดาษทด กระดาษเปลาที่เหลือไวลางสุด หนีบกระดาษทั้งหมดเขา
ดวยกันแลวใสซองวางไวบนโตะสอบ

หามนํากระดาษใดๆ ออกนอกหองสอบโดยเด็ดขาด
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ขอสอบภาคทฤษฎี
7 ธันวาคม 2563
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
คาตอไปนี้กําหนดใหใชได
มวล (M ⊕ ) 5.98 × 1024 kg
รัศมี (R ⊕ ) 6.38 × 106 m
ความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงที่ผิวโลก (g) 9.8 m s−2
ความเอียงวงโคจร 23°27’
โลก
Tropical Year 365.2422 mean solar days
Sidereal Year 365.2564 mean solar days
Sidereal day 23h 56m 04s
Albedo 0.39
มวล (M ☾ ) 7.35 × 1022 kg
รัศมี (R ☾ ) 1.74 × 106 m
ระยะทางเฉลี่ยจากโลก 3.84 × 108 m ดวงจันทร
ความเอียงวงโคจร 5.14°
Albedo 0.14
โชติมาตรปรากฏ (คาเฉลี่ยเมื่อเต็มดวง) −12.74
มวล (M ☉ ) 1.99 × 1030 kg
รัศมี (R ☉ ) 6.96 × 108 m
กําลังสองสวาง (L ☉ ) 3.83 × 1026 W
ดวงอาทิตย
โชติมาตรสัมบูรณ (ℳ ☉ ) 4.80 mag
โชติมาตรปรากฏ (m ☉ ) −26.74 mag
ขนาดเชิงมุมปรากฏ 0.5 degrees
ความเร็วในการโคจรรอบกาแล็กซี 220 km s−1
ระยะทางจากใจกลางกาแล็กซี 8.5 kpc
รัศมีดาวพฤหัสบดี 6.99 × 107 m
1 au 1.50 × 1011 m
1 pc 206,265 au
คานิจโนมถวงสากล (G) 6.67 × 10−11 N ⋅ m2 ⋅ kg −2
Planck constant (h) 6.62 × 10−34 J ⋅ s
Boltzmann constant (k B ) 1.38 × 10−23 J ⋅ K −1
Stefan-Boltzmann constant (σ) 5.67 × 10−8 W ⋅ m−2 ⋅ K −4
Wien’s Displacement law λmT
= 2.898 ×10−3 mK คาคงตัว
Hubble constant (H 0 ) 67.8 km s −1 Mpc −1
อัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ (c) 299,792,458 m s −1
คาคงที่ของแกส (R G ) 8.314 J/mol/K
มวลของโปรตอน 938.27 MeV ⋅ c −2
มวลของดิวทิเรียม 1875.60 MeV ⋅ c −2
มวลของนิวตรอน 939.56 MeV ⋅ c −2
มวลของไฮโดรเจน 1.6726 × 10−27 kg
มวลของฮีเลียม 6.643 × 10−27 kg

2
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ขอสอบภาคทฤษฎี
7 ธันวาคม 2563
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

∆λ c+v 
redshift parameter z ≡ ≡   − 1
λ  c − v 
Avogadro constant =
N A 6.0225 ×10 per mole
23

Mass-luminosity relation สําหรับดาวใน Main Sequence: L ∝ M 3.5


โมเมนตัมของโฟตอน = h= hf
λ c
กําหนดให ทรงกลมมีรัศมีเทากับ 1
sin a sin b sin c
1. = =
sin a sin b sin γ
2. cos a cos b cos c + sin b sin c cos a
=
3. cos a =
− cos β cos γ + sin β sin γ cos a a b
γ
O c
b a

3
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ขอสอบภาคทฤษฎี
7 ธันวาคม 2563
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ขอ 1. ประเภทของดาว [10 คะแนน]
ดาวดวงหนึ่ง มีโชติมาตรสัมบูรณ (Absolute Visual Magnitude) +11.4 และมีอุณหภูมิยังผลเปน 5 เทาของดวง
อาทิตย คาแกโบโลเมตริก (Bolometric Correction) ของดาวดวงนี้มีคาเทากับ -1.4 จงคํานวณหารัศมีของดาวดวงนี้
วาเปนกี่เทาของดวงอาทิตย และดาวดวงนี้เปนดาวประเภทใด
ขอ 2. ดาวเทียมสื่อสาร [10 คะแนน]
บริษัทหนึ่งตองการสงดาวเทียมจํานวนมากไปโคจรรอบโลกเพื่อใชในการสงสัญญาณอินเตอรเน็ตใหครอบคลุมพื้นที่
80% ของโลก ดาวเทียมนี้เปนประเภท Low Earth Orbit มีคาบการโคจรรอบโลก 95.4 นาที และมีจานสงสัญญาณ
(antenna) ทีส่ งสัญญาณเปนกรวยแคบ ๆ ที่มีมมุ ยอด 20 องศาจากดาวเทียมสูผิวโลก ในแนวตั้งฉากกับผิวโลก บริษัท
นี้จะตองใชดาวเทียมอยางนอยประมาณกี่ดวง
ขอ 3. กราฟแสงของดาวเคราะหนอกระบบ [10 คะแนน]
กราฟแสงของระบบดาวฤกษ-ดาวเคราะหนอกระบบ HD 198733b จากกลองโทรทรรศนอวกาศ Spitzer โดยดาว
ฤกษ HD 198733 มีรัศมี 0.805 𝑅⊙

กราฟแสงของระบบดาวฤกษ-ดาวเคราะห HD 198733b Relative flux เปนคาฟลักซเทียบกับดาวฤกษ


กราฟ a) และกราฟ b) เปนขอมูลสังเกตการณเดียวกัน แตกราฟ b) ขยายสเกลแกน y

4
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ขอสอบภาคทฤษฎี
7 ธันวาคม 2563
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
a) จงประมาณหาคารัศมีของดาวเคราะหนอกระบบ HD 198733b ในหนวยของรัศมีดาวพฤหัสบดี [4 คะแนน]
b) จงประมาณหาคาอัตราสวนของฟลักซเฉลี่ยของดาวเคราะหนอกระบบ HD 198733b ตอฟลักซของดาวฤกษ
HD 198733 [3 คะแนน]
c) จงประมาณหาคาอัตราสวน ของฟลักซของดาวเคราะหนอกระบบ HD 198733b ที่ออกมาจากดานกลางวันของ
ดาวเคราะห (Dayside) ตอของฟลักซที่ออกมาจากดานกลางคืนของดาวเคราะห (Nightside) [3 คะแนน]

ขอ 4. การเคลื่อนทีข่ องดาวฤกษ [10 คะแนน]


ดาวดวงหนึ่งมี 𝑅𝑅 = 3h, 𝐷𝐷𝐷 = −10° มี Doppler shift 𝑧 = 0.0004 และไมมี Proper velocity สมมุติวาดวง
อาทิตยกําลังเคลื่อนที่เขาสูตาํ แหนง 𝑅𝑅 = 18h, 𝐷𝐷𝐷 = +30° (ซึง่ เรียกวา ตําแหนง Solar Apex) ดวยความเร็ว
v = 19.5 km/s

a) จงหาระยะหางเชิงมุม 𝜃 ระหวางตําแหนงดาวและ Solar Apex [4 คะแนน]


b) จงหา Space velocity ของดาวฤกษดวงนี้ เทียบกับ Solar Apex [6 คะแนน]
ขอ 5. Period Luminosity Relation [10 คะแนน]
กาแล็กซีหนึ่งมีดาวแปรแสงเซเฟอิด (Cepheid Variable) A ซึ่งมีคาบ 𝑃𝐴 = 30 วัน และโชติมาตรปรากฏ
(apparent magnitude) 𝑚𝐴 = 20 และอีกกาแล็กซีหนึ่งมีดาวแปรแสงเซเฟอิด B ซึ่งมีคาบ 𝑃𝐵 = 15 วัน
และโชติมาตรปรากฏ (apparent magnitude) 𝑚𝐵 = 25 จงประมาณอัตราสวนของระยะหางจากโลกของ
กาแล็กซีทั้งสอง
กําหนดให Period – Luminosity เปน 𝑀𝑉 ≈ −3.0 log 𝑃 + constant
ขอ 6. ระบบดาวคู [20 คะแนน]
ระบบดาวคูระบบหนึ่งสังเกตเห็นเปนทั้งระบบดาวคูอุปราคา (Eclipsing Binary) และระบบดาวคูสเปกโทรสโคป
(Spectroscopic Binary) โดยพบวา แนวสังเกตอยูระนาบเดียวกับระนาบวงโคจร พบวา ดาวปฐมภูมิมีความเร็วใน
แนวเล็ง ระหวาง +25 ถึง +35 km/s ดาวทุติยภูมิมีความเร็วในแนวเล็งระหวาง +10 ถึง +50 km/s มีวงโคจรเปนรูป
วงกลมที่มีคาบเทา 5 ป จากการสังเกตการณทางโฟโตเมตรีพบวา เมื่อดาวดวงที่สองเคลื่อนที่ผานหนาดาวดวงที่หนึ่ง
จะทําใหเกิดการลดลงของแสง ซึ่งจะเกิดขึ้นเปนเวลาทั้งสิ้น 0.3 วัน กอนที่จะเปนความสวางที่นอยที่สุด และความ
สวางที่นอยที่สุดนี้จะเกิดขึ้นเปนเวลานานทั้งสิ้น 1.0 วัน

a) จงหามวลของดาวแตละดวงในหนวยเทาของมวลดวงอาทิตย [12 คะแนน]


b) จงหารัศมีของดาวแตละดวงในหนวยเทาของรัศมีดวงอาทิตย [8 คะแนน]

5
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ขอสอบภาคทฤษฎี
7 ธันวาคม 2563
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ขอ 7. ซูเปอรโนวา [20 คะแนน]
11
ดาวยักษแดงดวงหนึ่งระเบิดเปนซูเปอรโนวา (Supernova) ที่มีกําลังการสองสวางเฉลี่ย เปน 10 เทา ของกําลังสอง
สวางของดวงอาทิตย
ถาโดยปกติอุณหภูมิเฉลี่ยบนผิวโลกอันเนื่องมาจากการไดรับฟลักซของดวงอาทิตยมีคา 287 เคลวิน และอุณหภูมิที่ผวิ
โลกตองไมเกิน 333 เคลวิน จึงจะไมกระทบตอการอยูรอดของสิ่งมีชีวิต จงหาระยะทางใกลที่สุดของซูเปอรโนวานี้ใน
หนวยพารเซค (pc) ที่จะทําใหไมเกิดผลกระทบตอการอยูรอดของสิ่งมีชีวิตบนโลก

ขอ 8. เงาของเสา [20 คะแนน]


°
ผูสังเกต ณ ตําแหนงหนึ่งบนละติจูด 45 𝑁 วัดความยาวเงาของเสาตนหนึ่ง ในขณะที่ดวงอาทิตยผานเมริเดียนใน
วันที่ 𝑎 ของป พ.ศ. 2563 และวัดความยาวเงาของเสาตนเดิม ในขณะที่ดวงอาทิตยผานเมริเดียนในอีกครึ่งปใหหลัง
พบวาความยาวเงาสั้นลงประมาณครึ่งหนึ่งของความยาวเงาวันที่ 𝑎 จงหาวาวันที่ 𝑎 เปนวันใดของป พ.ศ. 2563

สําหรับในขอนี้ กําหนดให ดวงอาทิตยเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วคงที่ ไมคํานึงถึง Equation of time และวัน Vernal


Equinox ของป พ.ศ. 2563 ตรงกับวันที่ 20 มีนาคม

ขอ 9. เวลาบนดาวเคราะห [20 คะแนน]


ผูสังเกตบนดาวเคราะหดวงหนึ่งสังเกตเห็น ดาวฤกษที่ดาวเคราะหนั้นโคจรรอบมีการเคลื่อนที่เทียบกับดาวฤกษพื้น
หลังดวงหนึ่ง (fixed star) ดวยคาบ 𝑇 และสังเกตเห็นวา ชวงเวลาระหวางการผานเมริเดียนดานบน (Upper Transit)
และการผานเมริเดียนดานลาง (Lower Transit) ของดาวฤกษพื้นหลัง มีคาเทากับ ∆𝑡
สมมุติใหดาวเคราะหโคจรไปในทิศสวนทางกับการหมุนของดาวเคราะห และการควง (Precession) ของแกนดาว
เคราะห ซึ่งมีคาบเปน 𝑇𝑝 ในทิศเดียวกันกับการหมุน แกนหมุนของดาวเคราะหควงรอบแกนโคจรของดาวเคราะห จง
หา

a) วันดาราคติ (Sidereal day) ของผูสังเกตบนดาวเคราะหดวงนี้ [2 คะแนน]


b) ปดาราคติ (Sidereal year) ของผูสังเกตบนดาวเคราะหดวงนี้ [2 คะแนน]
c) วันสุริยคติปานกลาง (Mean solar day) ของผูสังเกตบนดาวเคราะหดวงนี้ [5 คะแนน]
d) ปสุริยคติ (Tropical year) ของผูสังเกตบนดาวเคราะหดวงนี้ [3 คะแนน]
e) กําหนดให 𝑇 ≫ ∆𝑡 และชวงเวลา ∆𝑡 ในแตละรอบ มีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากความรีวงโคจรของดาวเคราะห
โดยมีระยะเวลาสั้นที่สุด ∆𝑡𝑚𝑚𝑚 และระยะเวลายาวที่สุด ∆𝑡𝑚𝑚𝑚 จงประมาณคาความรีของวงโคจรดาวเคราะหนั้น
ในรูป ∆𝑡𝑚𝑚𝑚 และ ∆𝑡𝑚𝑚𝑚 [8 คะแนน]

6
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ขอสอบภาคทฤษฎี
7 ธันวาคม 2563
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ขอ 10. [20 คะแนน]
จักรราศีไทยใชตําแหนงเทียบกับดาวฤกษประจําที่เปนจุดเริ่มตนของระบบพิกัดสุริยวิถี (ระบบนิรายนะ,
Sidereal zodiac) ซึ่งตางจากตะวันตกที่ใชจุดวสันตวิษุวัตเปนจุดเริ่มตนของระบบพิกัดสุริยวิถี (ระบบสายนะ,
Tropical zodiac) โดยระบบจักรราศีไทยกําหนดใหจุดเริ่มตนของราศีเมษ (First point of Aries) มี Ecliptic
longitude บนเสนสุริยวิถีตางกับดาวสไปกา (Spica หรือดาวรวงขาว) 180 องศา

กําหนดให ดาวสไปกามีพิกัดในวัน J2000.0 (วันที่ 1 มกราคม 2543 เวลา 12:00 UT)


RA = 13h 25m 11.6s , Dec = −11°09′41
ความเอียงของแกนโลกเทียบกับแกนการโคจร 𝜀 = 23° 26′ 21.41"
โลกมีการเปลี่ยนแปลง Ecliptic Longtitude เนื่องจากการหมุนควง 50.4 พิลิปดาตอป
วันจูเลียน ณ J2000.0 (วันที่ 1 มกราคม 2563 เวลา 12:00 UT) คือ JD 2451545.0

a) จงหาคาพิกัดสุริยวิถี (Ecliptic latitude, Ecliptic longitude) ของดาวรวงขาวที่ epoch J2000.0 (วันที่ 1


มกราคม 2543 เวลา 12:00 UT) [12 คะแนน]
b) ในอดีตจุดวสันตวิษุวัตใน Tropical zodiac (ระบบสายนะ) และจุดเริ่มตนของราศีเมษใน Sidereal zodiac
(ระบบนิรายนะ) อยูจุดเดียวกัน แตเนื่องจากการหมุนควง (Precession) ของแกนโลก จุดวสันตวิษุวัตจึงคอย ๆ
เคลื่อนถอยหลังมาทีละนอย จงหามุมตามเสนสุริยวิถีที่จุดวสันตวิษุวัตถอยจากจุดวสันตวิษุวัตในอดีต (คาอยนางศ,
Ayanamsa) ณ epoch J2000.0 (วันที่ 1 มกราคม 2543 เวลา 12:00 UT)
1 [4 คะแนน]
c) จากขอสมมุติฐานที่วา เดิมจุดวสันตวิษุวัตอยูในตําแหนงเดียวกันกับจุดเริ่มตนราศีเมษใน Sidereal zodiac (ระบบ
นิรายนะ) จงหาวันจูเลียน (JD) ที่ตําแหนงทั้งสองอยูจุดเดียวกัน [4 คะแนน]

7
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ขอสอบภาคทฤษฎี
7 ธันวาคม 2563
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ขอ 11. จานพอกพูนมวลของดาวนิวตรอน [50 คะแนน]
ดาวคูที่มีดาวดวงหนึ่งเปนดาวนิวตรอน และอีกดวงวิวัฒนาการจนเปนดาวยักษแดงซึ่งขยายขนาดจนมวลสาร บางสวน
สามารถผานจุด Lagrange Point L 1 ไปโคจรเปนจานพอกพูนมวล (accretion disk) รอบดาวนิวตรอน ดังรูป

กําหนดใหดาวยักษแดงมีมวลเทากับมวลของดวงอาทิตย ในขณะที่ดาวนิวตรอนมีมวล 1.4 𝑀⨀ และมีรัศมี 10


กิโลเมตร จานพอกพูนมวลที่เกิดขึ้นมีขนาดตั้งแตที่รัศมี 𝑟𝑚𝑚𝑚 วัดจากจุดศูนยกลางมวลของดาวนิวตรอนไปจนถึง รัศมี
ในสุด 𝑟𝑚𝑚𝑚 ซึ่งคือรัศมีพื้นผิวดาวนิวตรอน โดยที่มวลสารจากดาวยักษแดงถูกถายเทไปยังจานพอกพูนมวล ดวยอัตรา
คงที่ 𝑚̇ = ∆𝑚
∆𝑡

a) ถามวลสาร 𝑚 เคลื่อนที่ ณ แตละรัศมี 𝑟 ในจานพอกพูนมวลมีวงโคจรประมาณไดเปนวงกลม จงพิสูจนวา


พลังงานรวมของมวลสาร 𝑚 ที่รัศมี 𝑟 ใดๆ ในระบบจานพอกพูนมวลเขียนเปนสมการไดวา 𝐸 = − 𝐺𝐺𝐺 2𝑟
[4 คะแนน]

b) จงพิสูจนวาเมื่อมวลสารมีการเปลี่ยนรัศมีวงโคจรในจานพอกพูนมวลเปนระยะ ∆𝑟 วงแหวนบริเวณนั้นจะมี
𝐺𝐺𝑚̇
กําลังสองสวาง 𝐿𝑟𝑟𝑟𝑟 = ∆𝑟 [8 คะแนน]
2𝑟 2

c) สมมติใหจานพอกพูนมวลเปนระนาบวงแหวนที่มีอุณหภูมิพื้นผิวเทากับ 𝑇 จงพิสูจนวาสามารถเขียนกําลังสอง
สวางรวมดานบนและลางของวงแหวนบาง ๆ ที่รศั มี 𝑟 ถึง 𝑟 + ∆𝑟 ของจานพอกพูนมวลไดเปน

8
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ขอสอบภาคทฤษฎี
7 ธันวาคม 2563
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
𝐿𝑟𝑟𝑟𝑟 = 4𝜋𝑟𝜎𝑇 4 ∆𝑟 [6 คะแนน]

d) จงหาอุณหภูมิพื้นผิวที่วงแหวนชั้นในสุดของจานพอกพูนมวลรอบดาวนิวตรอน เมื่อทราบวาอัตราการถายเท
มวลมีคา 1.2 × 1013 kg/s [5 คะแนน]

e) จงคํานวณหาคาความยาวคลื่นของคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่ถูกแผออกมาในความเขมมากสุดที่วงแหวนชั้นในสุด
ของจานพอกพูนมวล [4 คะแนน]

f) จงใช dimensional analysis เพื่อเขียนสมการกําลังสองสวาง 𝐿 ของจานพอกพูนมวลในเทอมของ 𝑚̇


และคาอัตราเร็วแสง 𝑐 โดยให 𝜂 คือประสิทธิภาพของการปลดปลอยพลังงาน (accretion efficiency) ซึ่งเปนคา
คงตัวการแปรผันของตัวแปรดังกลาว (ไมมหี นวย) [5 คะแนน]

g) กําลังสองสวางรวมของทั้งจานพอกพูนมวลสามารถประมาณไดจากสมการ 𝐿 = 12 𝐺𝐺𝑚̇ �𝑟𝑚𝑖𝑖 1



1
𝑟𝑚𝑚𝑚

จงหาคา accretion efficiency 𝜂𝑎𝑎𝑎 เมื่อมีการถายเทมวลมาจนถึงรัศมีดาวนิวตรอนในกรณีนี้ โดยใชการ
ประมาณ 𝑟𝑚𝑚𝑚 ≫ 𝑟𝑚𝑚𝑚 [6 คะแนน]

h) จงหาคาประสิทธิภาพการเผาไหมจากปฏิกิริยานิวเคลียร (nuclear-burning efficiency) 𝜂𝑛𝑛𝑛 จาก


กระบวนการ p-p chain ที่เปลี่ยนไฮโดรเจน 4 ตัว เปนฮีเลียม 1 ตัว และเปรียบเทียบวาคา accretion
efficiency 𝜂𝑎𝑎𝑎 ที่ไดในขอ g) มีคา เปนกี่เทาของคา nuclear-burning efficiency [10 คะแนน]

i) กระบวนการใดมีประสิทธิภาพการปลดปลอยพลังงานมากกวากัน ระหวางการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียรฟวชัน
บนดวงอาทิตย และการปลอยพลังงานผานกลไก accretion [2 คะแนน]

9
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ขอสอบภาคทฤษฎี
7 ธันวาคม 2563
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
12. การสํารวจดาวเคราะหนอย [50 คะแนน]
ในการสํารวจดาวเคราะหนอยทรงกลมรัศมี 𝑅 มวล 𝑀 ความหนาแนนสม่ําเสมอ ระหวางการขุดเศษหินขนาดเล็ก ๆ
จํานวนหลายกอนกระเด็นออกจากจุดที่ขุด ใหพิจารณากอนหนึ่งที่มีมวล 𝑚 นอยกวา 𝑀 มาก ๆ กระเด็นดวย
�⃗ ทํามุมกระเด็น 𝜃 กับแนวดิ่งที่ตําแหนง I ที่หลุดจากผิวดาว ดังรูป
ความเร็ว 𝑢

𝑎�1−𝑒 2 �
เศษหินเคลื่อนที่เปนวงรี ที่มุม 𝜙 ใด ๆ ตําแหนงของเศษหินอยูในรูป 𝑟 = เมื่อ 𝑒 เปนความเยื้อง
1−𝑒 cos 𝜙
ศูนยกลาง (eccentricity) และ 𝑎 เปนระยะกึ่งแกนเอก (semi-major axis) ของวงรี สังเกตวาในสมการนี้เราให
𝜙 = 0∘ ที่จุดไกลสุดของวงโคจร
𝐿
ให 𝐺 เปนคาคงตัวโนมถวงสากล, 𝐿 เปนโมเมนตัมเชิงมุมรอบจุด O ของหินที่กระเด็นออกมา และ ℎ = เปน
𝑚
ℎ2 1
โมเมนตัมเชิงมุมตอมวล เราสามารถเขียน 𝑟 = � �
𝐺𝐺 1−𝑒 cos 𝜙

a) จงหาคาของ ℎ ที่รูป 𝑅, 𝑢 และ 𝜃 [3 คะแนน]

b) จงคํานวณหาคา 𝑎 ในรูปของ 𝐺, 𝑀, 𝑅 และ 𝑢 [4 คะแนน]

c) จงหาคา 𝑒 ในรูปของ ℎ, 𝐺, 𝑀, 𝑢 และ 𝑅 [3 คะแนน]

10
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ขอสอบภาคทฤษฎี
7 ธันวาคม 2563
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
d) จุดตก F ของเศษหินกอนหนึ่งอยูตรงขามกับ I พอดี (IOF เปนเสนผานศูนยกลาง) ดวยอัตราเร็วตน
4 𝐺𝐺
𝑢=� จงหาคามุมกระเด็น 𝜃 ของเศษหินนี้ [10 คะแนน]
3 𝑅

ในการคํานวณเวลาการเคลื่อนที่นั้น เราสามารถแปลงการเคลื่อนที่ตามวงรีโดยใชมุม eccentric anomaly 𝐸 มา


ชวยในการคํานวณ ซึ่งเราจะได 𝑟 = 𝑎(1 − 𝑒 cos 𝐸 ) และไดความเร็วในแนวรัศมีเทากับ
𝑑𝑑 𝑑𝑑
= 𝑎𝑎 sin 𝐸
𝑑𝑑 𝑑𝑑

e) ใหพิจารณาพลังงานรวม โดยแยกเทอมความเร็วในแนวรัศมีและในแนวตั้งฉากกับรัศมี แลวแสดงวา


2 𝑑𝑑 2 𝑘𝑘𝑘
(1 − 𝑒 cos 𝐸 ) � � =
𝑑𝑑 𝑎3
เมื่อ 𝑘 เปนตัวเลข พรอมระบุคา 𝑘 [12 คะแนน]

f) จากความเร็วและมุมในขอ d) จงหาวากอนหินใชเวลาเคลื่อนที่ 𝑇 เทาใดกอนจะตกกลับมายังผิวดาวเคราะหนอย


ใหตอบในรูปของ 𝐺, 𝑀 และ 𝑎 [18 คะแนน]

================

11
กระดาษเขียนตอบขอสอบภาคทฤษฎี
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
7 ธันวาคม 2563
รหัสนักเรียน

ขอ 1. ประเภทของดาว (10 คะแนน)

- รัศมีของดาว R

- ประเภทของดาว .
ขอ 2. ดาวเทียมสื่อสาร (10 คะแนน)

จํานวนดาวเทียมอยางนอย ดวง
ขอ 3. กราฟแสงของดาวเคราะหนอกระบบ (10 คะแนน)

a) รัศมีดาวเคราะห รัศมีดาวพฤหัสบดี
b) อัตราสวนของฟลักซเฉลี่ยของดาว
เคราะหนอกระบบตอฟลักซของดาว
ฤกษ .
c) อัตราสวนฟลักซของดาวเคราะหที่
ออกมาจากดานกลางวันของดาว
เคราะหตอฟลักซที่ออกมาจากดาน
กลางคืนของดาวเคราะห .
ขอ 4. การเคลื่อนทีข่ องดาวฤกษ (10 คะแนน)

a) ระยะหางเชิงมุม 𝜃 องศา

b) Space velocity km/s


ขอ 5. Period-Luminosity relation (10 คะแนน)
อัตราสวนของระยะหางจากโลกของ
กาแล็กซีทั้งสอง .
กระดาษเขียนตอบขอสอบภาคทฤษฎี
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
7 ธันวาคม 2563
รหัสนักเรียน

ขอ 6. ระบบดาวคู (20 คะแนน)


a) มวลดาว
- 𝑚1 𝑀⨀

- 𝑚2 𝑀⨀
b) รัศมีดาว
- 𝑅1 𝑅⨀

- 𝑅2 𝑅⨀
กระดาษเขียนตอบขอสอบภาคทฤษฎี
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
7 ธันวาคม 2563
รหัสนักเรียน

ขอ 7. ซูเปอรโนวา (20 คะแนน)

ระยะใกลสุดทีย่ ังไมสงผลกระทบ pc
กระดาษเขียนตอบขอสอบภาคทฤษฎี
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
7 ธันวาคม 2563
รหัสนักเรียน

ขอ 8. เงาของเสา (20 คะแนน)

วันที่ 𝑎 .

ขอ 9. เวลาบนดาวเคราะห (20 คะแนน)

a) วันดาราคติ (Sidereal day) .

b) ปดาราคติ (Sidereal year) .


c) วันสุริยคติปานกลาง (Mean solar
day) .

d) ปสุริยคติ (Tropical year) .

e) ความรีวงโคจร .

ขอ 10. พิกัดสุริยวิถี (20 คะแนน)

a) พิกัดสุริยวิถี .
b) มุมตามเสนสุริยวิถีที่จุดวสันตวิษุวัต
ถอยจากจุดวสันตวิษุวัตในอดีต .
c) วันจูเลียน (JD) ที่ตําแหนงทั้งสองอยู
จุดเดียวกัน .
กระดาษเขียนตอบขอสอบภาคทฤษฎี
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
7 ธันวาคม 2563
รหัสนักเรียน

ขอ 11. จานพอกพูนมวลดาวนิวตรอน (50 คะแนน)

a) จานพอกพูนมวล (แสดงวิธีทําในกระดาษคําตอบ)

b) กําลังการสองสวางวงแหวน (แสดงวิธีทําในกระดาษคําตอบ)

c) กําลังสองสวางรวม (แสดงวิธีทําในกระดาษคําตอบ)

d) อุณหภูมิพนื้ ผิวที่วงแหวนชั้นในสุด 𝐾
e) ความยาวคลื่นของคลื่น
แมเหล็กไฟฟา nm

f) สมการกําลังสองสวาง 𝐿 .

g) 𝜂𝑎𝑎𝑎 .

h) 𝜂 𝜂𝑛𝑛𝑛 = .

𝜂𝑎𝑎𝑎 = เทาของคา nuclear-burning efficiency


i) ประสิทธิภาพการปลดปลอยพลังงาน
มากกวา ปฏิกิริยานิวเคลียรฟวชัน / การปลอยพลังงานผานกลไก accretion
กระดาษเขียนตอบขอสอบภาคทฤษฎี
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
7 ธันวาคม 2563
รหัสนักเรียน

ขอ 12. การสํารวจดาวเคราะหนอย (50 คะแนน)

a) ℎ .

b) 𝑎 .

c) 𝑒 .

d) 𝜃 .

f) 𝑘 .

g) 𝑇 .

You might also like