You are on page 1of 7

แฟ้มสะสมผลงาน

ของ
ชื่อ........................สก ุล.........................
คร ูประจำชัน้ .........................................
โรงเรียน...............................................

ตัวอย่างคำอธิบายแฟ้ มสะสมผลงาน
การประเมินโดยใช้แฟ้ มผลงาน (Portfolio Assessment)
การประเมินโดยใช้แฟ้ มผลงาน เป็ นการประเมินผลพัฒนาการการ
เรียนรู้ของนักเรียนตาม
สภาพที่แท้จริง ซึ่งผลงานชิน
้ ต่างๆ ที่รวบรวมได้นน
ั ้ แสดงถึง ความรู้ ความ
สามารถ ความพยายาม เจต
คติและความก้าวหน้าของการเรียนรู้ของนักเรียน ครูใช้แฟ้ มผลงานเป็ นที่
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ
นักเรียนและใช้เป็ นสิ่งกระตุ้นให้นักเรียนสะท้อนความคิด ความรู้สึกที่เกิด
จากการท างาน และค้นพบ
ความก้าวหน้าของตนเอง อีกทัง้ ใช้เป็ นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารกับผู้
ปกครองให้ได้รับทราบข้อมูล
ความก้าวหน้าของตนเอง อีกทัง้ ใช้เครื่องมือในการติดต่อสื่อสารกับผู้
ปกครองให้ได้รับทราบข้อมูล
ความก้าวหน้าเกี่ยวกับพัฒนาการ การเรียนรู้ของนักเรียน

วัตถุประสงค์ของแฟ้ มผลงาน
1. เพื่อแสดงให้เห็นพัฒนาการและการเรียนรู้ของนักเรียน
2. เพื่อแสดงให้เห็นกระบวนการทำงาน หรือความพยายามของ
นักเรียน
3. เพื่อใช้เป็ นเครื่องมือในการตัดสินพิจารณาความก้าวหน้าของ
นักเรียนเป็ นรายบุคคล
4. เพื่อเป็ นเครื่องมือในการสื่อสารกับผู้ปกครองในเรื่องเกี่ยวกับ
นักเรียน
5. สร้างความร่วมมือระหว่างบ้านและโรงเรียนในการพัฒนา
นักเรียน

บทบาทของผู้ปกครองที่มีต่อการใช้แฟ้ มผลงาน
1. สนทนา พูดคุย แสดงความชื่นชม ความสามารถความก้าวหน้า
ในการเรียนรู้ของนักเรียน
2. การถามรายละเอียดและซักถามอุปสรรค ปั ญหาที่อาจจะเกิดขึน

ในการท างานของนักเรียน
3. ควรหาโอกาสพบปะครูประจ าชัน
้ เพื่อปรึกษาหารือ ร่วมช่วย
พัฒนาโรงเรียน
4. ตรวจสอบความก้าวหน้า พัฒนาการของนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ
ตัวอย่างคำอธิบายสำคัญ

คำสำคัญในการประเมินผลโดยใช้แฟ้ มผลงาน

ผลงานอิสระ หมายถึง ผลงานที่เด็กเป็ นผูค


้ ัดเลือกจากผลงานต่างๆ
ที่ตนเองท าทัง้ จากที่บ้านและที่
โรงเรียน หลังจากคัดเลือกผลงานแล้วเสร็จเด็กต้องให้เหตุผลในการเลือก
ผลงานว่าเพราะเหตุใดจึงเลือกงานชิน
้ นี ้ โดยครูเป็ นผู้บันทึกการแสดง
ความคิดเห็นของเด็กที่มีต่อผลงานของตนเอง และอ่านข้อความที่บันทึก
ให้เด็กฟั ง (ในกรณีที่เด็กสามารถเขียนได้เด็กจะเป็ นผู้คัดลอกข้อความลง
ในแบบประเมินด้วยตนเอง)

ผลงานที่ผู้ปกครองเลือก หมายถึง ผลงานเด็กที่ผู้ปครองคัดเลือก


จากผลงานเด็กที่ได้รับจากครูหรือคัดเลือกจากผลงานที่เด็กกับผู้ปกครอง
ร่วมกันสร้างสรรค์ โดยพิจารณาคัดเลือกผลงานที่เด็กกับผู้ปกครองร่วมกัน
สร้างสรรค์ โดยพิจารณาคัดเลือกผลงานที่ดีที่สุดของเด็ก และอ่าน
ข้อความดังกล่าวให้เด็กฟั งอีกครัง้ ก่อนที่จะส่งกลับคืนให้ครูประจำชัน

ผลงานเฉพาะ หมายถึง ผลงานที่ครูเป็ นผู้จัดเก็บโดยครูเป็ นผู้ก า


หนดเป้ าหมายหรือวัตถุประสงค์ใน
การจัดเก็บและเขียนขัน
้ ตอนการท ากิจกรรมในงานชิน
้ นัน
้ อย่างละเอียด
ชัดเจน โดยคำนึงถึงความสอดคล้องของหลักการจัดประสบการณ์ของ
โรงเรียนที่เน้นทักษะกระบวนการคิด ทักษะการคิดทางวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างคำอธิบายบทบาทสำหรับการทำแฟ้ มผลงาน

ใครทำอะไร อย่างไรในแฟ้ มผลงาน

เด็ก
1. สร้างสรรค์ผลงานจากกิจกรรมที่บ้านและที่โรงเรียน
2. คัดเลือกผลงานตนเองที่ทำทัง้ จากที่บ้านและที่โรงเรียน
3. สะท้อนความคิดเห็นจากผลงานของตนเอง โดยบอกเหตุผลใน
การเลือกผลงานว่าเพราะเหตุใดจึงคัดเลือกงานชิน
้ นี ้
4. สะท้อนความคิดเห็นต่อผลงานของผู้อ่ น
ื โดยการกล่าวชื่นชมหรือ
ข้อเสนอแนะในผลงานชิน
้ นัน
้ ๆ

ผู้ปกครอง
1. เมื่อได้รับผลงานเด็กจากครูประจำชัน
้ พูดคุยกับเด็กเกี่ยวกับผล
งาน
2. จากนัน
้ (อาจให้เด็กร่วม) พิจารณาคัดเลือกผลงานเด็กทีค
่ ิดว่าดี
ที่สุดหรือเป็ นผลงานที่สะท้อนให้เห็นถึงพัฒนาการ การเรียนรู้ของเด็ก
และเขียนข้อคิดเห็นในทางที่สร้างสรรค์ต่อผลงานชิน
้ นัน
้ เมื่อเขียนเสร็จ
อ่านให้เด็กฟั งและส่งกลับคืนครูประจ าชัน
้ ตามจำนวนครูระบุไว้)
3. เข้าร่วมนิทรรศการแฟ้ มผลงานโดยแสดงความคิดเห็นและพูดคุย
กับครูเพื่อรับทราบความก้าวหน้าพัฒนาของเด็ก

ครู
1. ศึกษาพัฒนาการ จิตวิทยาการเรียนรู้ ทฤษฎีการเรียนการสอน
หลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียน เพื่อดำเนินการจัดทำแผนจัด
ประสบการณ์
2. วางแผนการจัดทำผลงานเฉพาะเก็บผลงานโดยระบุขน
ั ้ ตอนการ
ทำและวัตถุประสงค์ของงานให้สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนการสอนใน
แผนการจัดประสบการณ์ที่ระบุไว้
3. ดำเนินการจัดเก็บผลงานเฉพาะตามแผนที่กำหนดวางไว้และ
รวบรวมผลงาน (ผลงานอิสระผลงานที่ผู้ปกครองเลือก ผลงานเฉพาะ)
เป็ นรูปเล่ม
4. วางแผนการจัดแสดงผลงานของเด็กในรูปแบบนิทรรศการแฟ้ ม
ผลงาน
5. ประชาสัมพันธ์งานนิทรรศการแฟ้ มผลงานให้ผู้ปกครองในรูป
แบบต่างๆ
6. จัดแสดงนิทรรศการและแลกเปลี่ยนข้อมูลที่แสดงถึงความ
ก้าวหน้าในการเรียนรู้ของเด็ก

You might also like