You are on page 1of 16

หน่ ว ยที่ 4 วัฒ นธรรมไทย

สาระสาคัญ
วัฒนธรรมเป็ นแบบแผนการดาเนิ นชีวติ ในสังคมที่ทุกคนจะต้องยึดถือ
และปฏิบตั ิตาม ประเทศไทยประกอบด้วย กลุ่มชาติพนั ธ์หลายกลุ่ม ดังนั้น
อัตลักษณ์ของแต่ละกลุ่มชาติพนั ธุจ์ ึงแตกต่างกันทั้งสี่ภมู ิภาค ขึ้ นอยูก่ บั
สภาพแวดล้อม สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ มีความหลากหลายทั้งด้าน
อาหาร การแต่งกาย ที่อยูอ่ าศัย ประเพณี ดนตรี นาฏศิลป์ เรียกว่า
วัฒนธรรมไทย
สาระการเรียนรู ้
1. วัฒนธรรม
2. อัตลักษณ์ของวัฒนธรรมไทย
3. วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคของไทย
4. การอนุ รกั ษ์ของวัฒนธรรมไทย
จุดประสงค์การเรียนรู ้
1. ให้คานิ ยามคาว่าวัฒนธรรมได้
2. จาแนกลักษณะ ประเภท และองค์ประกอบของวัฒนธรรมได้
3. ระบุอตั ลักษณ์ของวัฒนธรรมไทยได้
4. ยกตัวอย่างวัฒนธรรม 4 ภูมิภาคของไทยได้
5. เสนอแนะการอนุ รกั ษ์ของวัฒนธรรมไทยได้
ความหมายของวัฒนธรรม
พระราชบัญญัตวิ ฒ
ั นธรรม พุทธศักราช 2485 ได้ให้ความหมายว่า เป็ นลักษณะที่แสดงถึงความเจริญงอก
งาม ความเป็ นระเบียบเรียบร้อย ความกลมกลืนก้าวหน้าของชาติ และการมีศีลธรรมอันดีงามของสังคม

วัฒนธรรม คือ วิถีการดาเนินชีวิตของบุคคลในสังคมใดสังคมหนึ่งที่ครอบคลุมถึงเครื่องอุปโภคบริโภคทุก


อย่าง ศิลปะ ประเพณี ค่านิยม ตลอดจนแบบแผนในการคิด การกระทา และความรูส้ ึกต่อสิ่งต่ง ๆ
ลักษณะของวัฒนธรรม
มีลกั ษณะสาคัญ 7 ประการ คือ
1. วัฒนธรรมเป็ นแบบแผนในการดาเนิ นชีวติ ของมนุ ษย์
2. เป็ นมรดกของสังคมที่ถ่ายทอดจากรุน่ สู่รุน่
3. เป็ นสิ่งที่มนุ ษย์สร้างขึ้ นเพื่อสนองความต้องการของมนุ ษย์
4. เกิดจากการเรียนรูโ้ ดยการอบรมสัง่ สอน ถ่ายทอดทางภาษา สัญลักษณ์ พิธีกรรมต่าง ๆ
5. มีการเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา
6. เป็ นรูปแบบพฤติกรรมและบรรทัดฐานทางสังคมที่บุคคลในสังคมต้องยึดถือและปฏิบตั ิตาม
7. เหมือนหรือแตกต่างขึ้ นอยูก่ บั สภาพแวดล้อม
ประเภทของวัฒนธรรม

วัฒนธรรมมี 2 ประเภท คือ


1. วัฒนธรรมทางวัตถุหรือวัฒนธรรมที่เป็ นรูปธรรม หมายถึง
วัฒนธรรมท่มนุ ษย์สร้างขึ้ น มองเห็นและสัมผัสได้ เช่น ปั จจัย 4
2. วัฒนธรรมทางจิตใจ หรือวัฒนธรรมที่เป็ นนามธรรม หมายถึง
วัฒนธรรมที่แสดงออกทางด้านความรู ้ ความคิด ความเชื่อ อุดมการณ์
ค่านิ ยม ขนบธรมเนี ยม และจารีตประเพณี รวมทั้งพฤติกรรมต่าง ๆ
ประเภทของวัฒนธรรม (สภาวัฒนธรรม)

วัฒนธรรม

วัตถุธรรม สหธรรม เนติธรรม คติธรรม


องค์ประกอบของวัฒนธรรม

องค์ประกอบของวัฒนธรรม

องค์วตั ถุ องค์พิธี องค์การ องค์มติ


อัตลักษณ์ของวัฒนธรรมไทย
1. คนไทยส่วนใหญ่เคารพรักและเทิดทูนพระมหากษัตริย์
2. คนไทยส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนาและใช้หลักธรรมในการดาเนิ นชีวิต
3. คนไทยส่วนใหญ่ใช้ภาษาไทยเป็ นภาษากลางในการติดต่อสื่อสาร
4. คนไทยส่วนใหญ่มีความรักและหวงแหนชาติไทย
5. วัฒนธรรมไทยเป็ นประเพณีไทยที่งดงาม
6. คนไทยส่วนใหญ่มีวฒ
ั นธรรมีที่เกี่ยวข้องกับปั จจัยพื้ นฐานในการดาเนิ นชีวิต ได้แก่ อาหาร
ที่อยูอ่ าศัย ยารักษาโรค เครื่องนุ่ งห่ม
อัตลักษณ์ของวัฒนธรรมไทย (ต่อ)
7. เป็ นการรังสรรค์ศิลปะอันล้าเลิศ ได้แก่
 - สถาปั ตยกรรม คือ ศิลปะหรือวิชาว่าด้วยการก่อสร้าง
 - ประติมากรรม คือ ศิลปะสาขาหนึ่ งในจาพวกวิจิตรศิลป์ เกี่ยวกับการแกะสลัก ไม้ หินอ่อนและโลหะ
 - จิตรกรรม คือ ศิลปะการวาดเขียน ศิลปะการวาดภาพ
 - วรรณกรรม คือ งานหนังสือ งานนิ พนธ์ที่ทาขึ้ นทุกชนิ ด
 - ดนตรี คือ เสียงที่ประกอบกันเป็ นทานองเพลง
8. กิริยามารยาทและจิตใจของคนไทยงดงาม
วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคของไทย
แบ่งออกเป็ น 4 ภูมิภาค ดังนี้
1. วัฒนธรรมของภาคเหนือ โดยได้รบั อิทธิพลมาจากเมียนมาและไทยใหญ่ ยังมีกลุ่มชาติพนั ธ์หลายเผ่า ทาให้วฒ
ั นธรรมเฉพาะ
กลุ่มที่หลากหลาย วัฒนธรรมต่าง ๆ ของภาคเหนือ ดังนี้
- ด้านอาหาร เช่น แกงโฮะ ไส้อั ่ว ข้าวซอย
- ด้านการแต่งกาย เช่น ผูช้ ายสวมกางเกงขาสามส่วนและสวมเสื้ อม่อฮ่อม
- ด้านดนตรีและนาฏศิลป์ เช่น สะล้อ ซอ ซึง ขลุย่
- ด้านที่อยูอ่ าศัย เช่น เรือนแฝดไม้สกั สองชั้น ใต้ถงุ สูง มี 5 ห้อง ให้เป็ นห้องนอน 3 ห้อง อีก 2 ห้อง เปิ ดโล่ง
- ด้านประเพณี เช่น ประเพณีลอยโคม จังหวัดเชียงใหม่
- ด้านภาษาถิ่น เช่น ตุง-ธง บะเขือส้ม-มะเขือเทศ
วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคของไทย
แบ่งออกเป็ น 4 ภูมิภาค ดังนี้
2. วัฒนธรรมของภาคกลาง ส่วนใหญ่ผูกพันกับสายน้ า และการทาเกษตร ดังนี้
- ด้านอาหาร เช่น แกงมัสมั ่น ผัดไทยและยาต่าง ๆ
- ด้านการแต่งกาย เช่น ผูช้ ายสวมโจงกระเบน ใส่เสื้ อราชปะแตน ไว้ผมสั้น ตัดเกรียน ข้างบนหวีแสกกลาง
- ด้านดนตรีและนาฏศิลป์ เช่น ฉิ่ง ฉาบ กรับ ตะโพน รามะนา
- ด้านที่อยูอ่ าศัย เช่น เรือนหอและเรือนหมู่
- ด้านประเพณี เช่น ประเพณีตกั บาตรดอกไม้ จังหวัดสระบุรี
- ด้านภาษาถิ่น เช่น ภาษาภาคกลางเป็ นภาษาทางการ
วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคของไทย
แบ่งออกเป็ น 4 ภูมิภาค ดังนี้
3. วัฒนธรรมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนใหญ่เป็ นที่ราบสูง ประเพณีส่วนใหญ่จงึ ได้มาจากภูมิศาสตร์ ศาสนา ความเชื่อ
พื้ นเมือง และได้รบั อิทธิพลมาจากลาวและกัมพูชา ดังนี้
- ด้านอาหาร เช่น ข้าวเหนียว ส้มตา ไก่ยา่ ง ลาบ
- ด้านการแต่งกาย เช่น ผูช้ ายสวมกางเกงใต้เข่าใส่เสื้ อม่อฮ่อม ผูห้ ญิงสวมผ้าซิ่น
- ด้านดนตรีและนาฏศิลป์ เช่น แคน โปงลาง โหวด พิญ ซอกันตรึม
- ด้านที่อยูอ่ าศัย เช่น เรือนสับหรือเรือนไม้กระดาน
- ด้านประเพณี เช่น ประเพณีผีตาโขน จังหวัดเลย
- ด้านภาษาถิ่น เช่น แซบอีหลี-อร่อยจริง บักหุ่ง-มะละกอ บักสีดา-ฝรั ่ง
วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคของไทย
แบ่งออกเป็ น 4 ภูมิภาค ดังนี้
4. วัฒนธรรมของภาคใต้ ส่วนใหญ่มีชายฝั ่งทะเลขนาบทั้งสองด้าน และมีทิวเขาสูงตั้งอยูต่ รงกลาง ดังนี้
- ด้านอาหาร เช่น แกงไตปลา แกงเหลือง ข้าวยา ผัดใบเหลียงใส่ไข่
- ด้านการแต่งกาย เช่น ผูช้ ายนุ่งผ้าโสร่ง สวมเสื้ อปล่อยชายยาว ผูห้ ญิงนุ่งผ้าปาเต๊ะคลุมถึงข้อเท้า
- ด้านดนตรีและนาฏศิลป์ เช่น ทับ (โทนหรือทับโนรา) กลองทัด ปี่ นอก ปี่ ใน แตระ (กรับ)
- ด้านที่อยูอ่ าศัย เช่น เรือนแฝด
- ด้านประเพณี เช่น ประเพณีชิงเปรต รามโนราห์หรือโนร หนังตะลุง
- ด้านภาษาถิ่น เช่น หย้ามู-้ ฝรั ่ง ส้มนาว-มะนาว หย่านัด-สับปะรด
การอนุ รกั ษ์วัฒนธรรมไทย
สรุปได้ 6 ประการ ดังนี้

- ภูมิปัญญาชาวบ้านถ่ายทอดความรู ้ ทักษะ และแระสบการณ์ดา้ นวัฒนธรรมไทยให้คนรุน่ ใหม่ได้เรียนรูแ้ ละปฏิบตั จิ ริง


- คนไทยร่วมกันรณรงค์ให้วฒ
ั นธรรมไทยเป็ นวิถีชีวิตประจาวันอย่างจริงจัง
- การปลูกจิตสานึกให้คนไทยเล็งเห็นคุณค่าและใส่ใจวัฒนธรรมไทย
- การเปลี่ยนค่านิยมของคนไทยที่ไม่ให้ตระหนักในวัฒนธรรมท้องถิ่นไทย
- กระทรวงวัฒนธรรม มีหน้าที่ดูแลเกี่ยวกับวัฒนธรรม ภาษา ศาสนา และขนบธรรมเนียมประเพณี
- ส่วนราชการในสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม ควรจัดกิจกรรมและจัดสือ่ อิเล็กอิเล็กทรอนิกส์ สือ่ ออนไลน์ มัลติมีเดียและแอปพลิเคชันเกี่ยวกับ
งานที่ตนรับผิดชอบ

You might also like