You are on page 1of 18

แรงผลักดัน

พฤติกรรมมนุษย์
Contents
● ขั้นตอนของการเกิดแรงผลักดันพฤติกรรม
● ประเภทของแรงขับ หรือแรงผลักดันพฤติกรรม
● แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับแรงขับ
แรงผลักดัน หรือ
แรงจูงใจ (Motive)

“อะไรก็ตามทีผ ่ ลักดัน
ทาให้เกิดพฤติกรรม
หรือกิจกรรมใดกิจกรรมหนึง่
ที่มุ่งสู่จด
ุ หมายปลายทาง”
กระบวนการเกิดแรงจูงใจ
ภาวะขาดแคลนของอินทรีย์

ผลจากการได้ทาพฤติกรรม
ขั้นความต้องการ
ลดภาวะความตึงเครียด และ (Need stage)
กระวนกระวายใจลง

ขั้นลดแรงขับ ขั้นแรงขับ
(Drive reduction) (Drive stage)

ภาวะการถูกกระตุ้น
ขั้นพฤติกรรม ความกระวนกระวาย
(Behavior) พร้อมที่จะเคลือ
่ นไหว หรือ
ทากิจกรรมใดกิจกรรมหนึง่
การกระทาหรือพฤติกรรม
เพื่อลดความกระวนกระวาย
ลักษณะ
บางประการ
01 แรงจูงใจอย่างเดียวอาจทาให้แสดง
พฤติกรรมได้หลายรูปแบบ
ของแรงจูงใจ
02 แรงจูงใจต่างชนิดกันอาจทาให้
แสดงพฤติกรรมเหมือนกัน

03 พฤติกรรมอย่างหนึ่งอาจเป็นผล
มาจากแรงจูงใจมากกว่า 1 ชนิด

04 แรงจูงใจอาจเห็นได้ชัด
หรือถูกซ่อนเร้น
● ประเภทของแรงขับหรือแรงจูงใจ

● แรงขับที่เกิดขึน
้ ภายในร่างกาย
Physiological drive Unlearned

● แรงขับที่เกิดขึน
้ ภายหลัง
Acquired drive learned
แรงขับที่เกิดขึน
้ ภายในร่างกาย แรงขับที่เกิดจาก
การขาดสมดุลภายในร่างกาย

แรงขับความหิว (Hunger drive)


แรงขับความกระหาย (Thirst drive)
แรงขับหลีกหนีความเจ็บปวด (Escape from pain drive)
แรงขับทางเพศ (Sex drive)
แรงขับเพศแม่ (Maternal drive)
แรงขับที่เกิดขึน
้ ภายในร่างกาย แรงขับต่อสิ่งเร้าภายนอก

ความอยากรูอ
้ ยากเห็น (Curiosity)
ความรักใคร่ (Affection)
การรูจ
้ ก
ั ตนเองและพัฒนาตนเอง
(Self-actualization)
แรงขับที่เกิดขึน
้ ภายหลัง

ความกลัวและความวิตกกังวล (Fear and anxiety)


ความต้องการยอมรับ (Approval)
ความต้องการความสาเร็จ (Achievement)
ความต้องการความก้าวร้าว (Aggression)
ความต้องการพึง่ พา (Dependency)
ความต้องการความเชือ
่ ทีข
่ าดสมดุล
(Cognitive dissonant)
แนวคิดและทฤษฎี
แรงผลักดันพฤติกรรม
o ทรรศนะจิตวิเคราะห์
o ทรรศนะมนุษยนิยม
o ทฤษฎีความต้องการ แรงขับ และสิ่งจูงใจ
o ทฤษฎีการเสริมแรง
o ทรรศนะกลุ่มความคิดความเข้าใจ
ทรรศนะจิตวิเคราะห์

● ซิกมันด์ ฟรอยด์ เชื่อว่า


○ มนุษย์เกิดมาพร้อมด้วยสัญชาตญาณ

■ สัญชาติญาณชีวต ิ (Life instinct)


■ สัญชาติญาณความตาย (Death instinct)
ทรรศนะจิตวิเคราะห์

● Id ความต้องการเพื่อตอบสนองพลังสัญชาติญาณ
ซึ่งยังไม่ได้ขัดเกลา ตามหลักของความพอใจ
(Principle of pleasure)
● Ego ควบคุมพฤติกรรมให้อยู่ในขอบเขตของสังคม
ตามหลักของความเป็นจริง (Reality principle)
● Super ego พลังที่ควบคุม ego ให้หาแนวทาง
ที่เหมาะสมที่สุดในการตอบสนอง id
ตามหลักของศีลธรรมจรรยา (Moral principle)
ทรรศนะมนุษยนิยม
● มนุษย์ไม่ได้เป็นทาสของแรงผลักดันตามพลังสัญชาตญาณ
แต่เกิดมาพร้อมด้วยศักยภาพของความเป็นมนุษย์
● ความต้องการของมนุษย์ตามแนวคิดของมาสโลว์
○ มนุษย์มีพื้นฐานใฝ่ดีและพร้อมที่จะทาดี ถ้าความต้องการพื้นฐาน
ได้รับการตอบสนอง
○ การกระทาหรือการเรียนรู้ของบุคคลเกิดจากแรงผลักดัน
ภายในตัวบุคคล
○ ความต้องการและการตอบสนองจะเรียงลาดับความสาคัญ
○ ความต้องการและการตอบสนองต้องได้รบ ั ความพึงพอใจก่อน
○ จึงจะตอบสนองความต้องการขั้นสูงขึ้นไป
ทรรศนะมนุษยนิยม ความต้องการของมนุษย์
ตามแนวคิดของมาสโลว์

(Being Motivation) ไม่ได้เป็นไปเพื่อเติม


ส่วนขาด หรือเพื่อลดความตึงเครียด
เป็น being ความเป็นมนุษย์ที่ใฝ่ดี

(Deficiency Motivation)
เป็นไปเพื่อเติมส่วนที่พร่อง
หรือขาดไปทั้งทางกายและใจ
ทฤษฎีความต้องการ แรงขับ และสิ่งจูงใจ

● ความต้องการทาให้เกิดแรงขับ
เป็นสภาพความตึงเครียดทีท ่ าให้
ต้องแสวงหาสิ่งทีต ่ อบสนองความต้องการ
● เรียกว่า “สิ่งจูงใจ หรือสิ่งล่อใจ”
เพราะเป็นสิ่งชักจูงให้มนุษย์ดิ้นรนไปหา
● มนุษย์ตกอยู่ภายใต้การผลักดันของแรงขับ
และการชักจูงของแรงจูงใจ
ทฤษฎีความต้องการ แรงขับ และสิ่งจูงใจ
ความสัมพันธ์การแสดงพฤติกรรม
ทฤษฎีการเสริมแรง
● แรงเสริม (Reinforce) เป็นสิ่งที่ทาให้พฤติกรรมหนึ่ง ๆ
เกิดบ่อยครั้งมากขึ้น
● เงื่อนไขการเสริมแรง (Contingency of Reinforcement)
○ Positive reinforcement การทาให้พฤติกรรมเกิดบ่อยครัง้ มากขึ้น
อันเป็นผลมาจากเมื่อแสดงพฤติกรรมนั้นแล้วได้รับสิ่งทีพ
่ ึงประสงค์
○ Negative reinforcement การทาให้พฤติกรรมเกิดบ่อยครัง้ มากขึ้น
อันเป็นผลมาจากการแสดงพฤติกรรมนั้นแล้ว
สามารถถอดถอนสิง่ ทีไ
่ ม่พึงประสงค์ออกไป
● เงื่อนไขการลงโทษ(Contingency of Punishment)
○ การหยุดยั้งพฤติกรรมโดยให้ในสิ่งทีไ
่ ม่พึงประสงค์
ทรรศนะกลุม
่ ความคิดความเข้าใจ

● พฤติกรรมเกิดขึ้นเนื่องจากความคิดที่มีเป้าหมาย
และพฤติกรรมที่เกิดขึ้นเป็นพฤติกรรมที่นาไปสู่เป้าหมาย
● พฤติกรรมขึ้นกับระดับความทะเยอทะยาน/ความสาเร็จ
○ การรับรูแ
้ ละเข้าใจงานที่ทา
○ ความสามารถที่จะทางาน
○ ความสาเร็จหรือล้มเหลวทีอ ่ าจจะได้รบ

You might also like