You are on page 1of 10

บทที่ 2

อัตราเพิ่มขึ้นและลดลง
2.1 การหาจานวนเงินที่บอกอัตราเพิ่มขึ้นและจานวนเงินรวม
ในชีวิตประจำวันเรำมักต้องใช้ควำมรู้ในหัวข้อนี้ในกำรซื้อของหรือใช้บริกำร เช่น กำรซื้อของที่ต้องมี
กำรรวมภำษีมูลค่ำเพิ่ม
ให้ M แทนจำนวนเงินเริ่มต้น คิดอัตรำเพิ่มขึ้น x%
เรำสำมำรถหำจำนวนเงินที่เพิ่มขึ้น และจำนวนเงินรวมได้ดังต่อไปนี้
x
จำนวนเงินที่เพิ่มขึ้น = M
100

 x 
จำนวนเงินรวม = M 1  
 100 

ตัวอย่าง 2.1 ตู้เย็นรำคำ 9,800 บำท คิดภำษีมูลค่ำเพิ่มอีก 7% จงหำว่ำผู้ซื้อต้องจ่ำยเงินค่ำภำษีมูลค่ำเพิ่ม


เท่ำไร และต้องจ่ำยเงินค่ำตู้เย็นกี่บำท

MY 686
-9800¥
i

i. TH i
9800 / It -7gal
'
10406

ตัวอย่าง 2.2 ลัดดำมีเงิน 1,000 บำท ต้องกำรสั่งอำหำรมำรับประทำน โดยที่ทำงจะร้ำนคิดค่ำบริกำร 10%


จำกรำคำอำหำรและเครื่องดื่ม อยำกทรำบว่ำลัดดำควรจะสั่งอำหำรและเครื่องดื่มรำคำรวมไม่เกินเท่ำไหร่จึงจะ
มีเงินพอจ่ำย
✗ •
10 , # too .

tooo - M ( 1+1,0%1
Mr 909.09 i
909 NM
25

2.2 การหาจานวนเงินรวมที่บอกอัตราการเพิ่มขึ้นหลายๆครั้งต่อเนื่องกัน
ให้ M แทนจำนวนเงินเริ่มต้น ซึ่งมีอัตรำเพิ่มขึ้นแบบต่อเนื่อง n ครั้งคือ x1 %, x2 %,..., xn %
เรำสำมำรถหำจำนวนเงินรวมทั้งหมดได้ดังต่อไปนี้

 x  x  x   x 
จำนวนเงินรวม = M 1  1 1  2 1  3  ... 1  n 
 100  100  100   100 

ตัวอย่าง 2.3 สมชำยนำเงิน 500,000 บำท ลงทุนในธุรกิจรับเหมำก่อสร้ำง โดย 2 ปีแรกยังไม่ได้รับกำไร ถ้ำ


ผลประกอบกำรของธุรกิจได้กำไร 15%,18%, 25% และ 32% ในปีที่ 3,4,5 และ 6 ตำมลำดับ แล้วเมื่อครบ
6 ปี นำยสมชำยมีเงินในธุรกิจนั้นเท่ำไร

0W .info 500000111-0-151111-0.18 ) / 11-0-757111-0.727

<
1.119525 ÑWNn

ตัวอย่าง 2.4 ลัดดำมีเงิน 1,000 บำท ต้องกำรสั่งอำหำรมำรับประทำน โดยที่ทำงจะร้ำนคิดค่ำบริกำร 10%


จำกรำคำอำหำรและเครื่องดื่ม และคิดค่ำภำษีมูลค่ำเพิ่ม 7% อยำกทรำบว่ำลัดดำควรจะสั่งอำหำรและ
เครื่องดื่มรำคำรวมไม่เกินเท่ำไหร่จึงจะมีเงินพอจ่ำย

1000 i
M / 11-0.1111+0.07 )

M . 849.6 ≈ 849 VIN


26

2.3 การหาจานวนเงินที่บอกอัตราลดลงและจานวนเงินเหลือสุทธิ
เรำต้องใช้ควำมรู้ในเรื่องนี้ในกำรซื้อสินค้ำหรือบริกำรที่ลดรำคำลงจำกเดิมที่กำหนดไว้ โดยลดรำคำลงเป็น
เปอร์เซ็นต์ของรำคำที่กำหนดไว้
ให้ M แทนจำนวนเงินเริ่มต้น ซึ่งมีอัตรำกำรลดลง x%
เรำสำมำรถหำจำนวนเงินที่ลดลงและจำนวนคงเหลือสุทธิได้ดังต่อไปนี้
x
จำนวนเงินที่ลดลง = M
100

 x 
ยอดเงินเหลือสุทธิ = M 1  
 100 

ตัวอย่าง 2.5 ทีวีรำคำ 25,900 บำท แต่เนื่องจำกทำงร้ำนมีโปรโมชั่นพิเศษ มอบส่วนลด 5% จงหำจำนวนเงิน


ส่วนลดและผู้ซื้อจะต้องจ่ำยเงินเท่ำไรเพื่อซื้อทีวี

% 1295 Nh
favor 259m × i
.
,

i 14605mn
25900 -1295
booths i

ตัวอย่าง 2.6 ภำณุต้องกำรซื้อเครื่องปรับอำกำศ โดยที่ร้ำนค้ำแจ้งว่ำจะลดให้ 15% จำกรำคำป้ำย ถ้ำภำณุมี


เงิน 25,400 บำท อยำกทรำบว่ำภำณุสำมำรถซื้อเครื่องปรับอำกำศที่ปิดรำคำไว้ไม่เกินเท่ำไหร่จึงจะสำมำรถ
จ่ำยได้ด้วยเงินที่มี

25400 i M( 1-13%7
29882 um
M ,
27

2.4 การหาจานวนเงินเหลือสุทธิที่บอกอัตราการลดลงหลายๆครั้งต่อเนื่องกัน
ให้ M แทนจำนวนเงินเริ่มต้น ซึ่งมีอัตรำกำรลดลงแบบต่อเนื่อง n ครั้ง คือ x1 %, x2 %,..., xn %
เรำสำมำรถหำจำนวนเงินคงเหลือสุทธิได้ดังต่อไปนี้

 x  x  x   x 
ยอดเงินเหลือสุทธิ = M 1  1 1  2 1  3  ... 1  n 
 100  100  100   100 

ตัวอย่าง 2.7 บริษัทผู้ผลิตเครื่องกรองน้ำแห่งหนึ่งผลิตเครื่องกรองน้ำรุ่นใหม่ โดยตั้งรำคำขำยพร้อมติดตั้ง


เครื่องละ 6,900 บำท และกำหนดส่วนลดให้แก่ลูกค้ำที่เป็นตัวแทนจำหน่ำย 15% และลดให้อีก 5% สำหรับ
ผู้ที่ซื้อมำกกว่ำ 5 เครื่อง และถ้ำจ่ำยเป็นเงินสด จะลดให้เป็นพิเศษอีก 3% ถ้ำนำยฟิล์มเป็นตัวแทนจำหน่ำย
และสั่งจองเครื่องกรองน้ำรุ่นนี้ 10 เครื่อง และชำระด้วยเงินสด นำยฟิล์มจะต้องจ่ำยเงินเป็นจำนวนเงินเท่ำไร
วิธีทำ
god
i 69000 (1-0.15711-0.05711-0.03)

2 54045.97J

54046 9th
<
28

2.5 การหาจานวนเงินที่บอกทั้งอัตราการเพิ่มและอัตราการลดลง
ต่อไปนี้เรำจะใช้หลักกำรของกำรหำจำนวนเงินที่มีอัตรำกำรเพิ่มเป็นร้อยละและหลักกำรกำรหำจำนวนเงิน
ที่มีอัตรำกำรลดลงเป็นร้อยละไปพร้อมกันขึ้นอยู่กับแต่ละเหตุกำรณ์
ให้ M แทนจำนวนเงินเริ่มต้น
ซึ่งมีอัตรำกำรเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละแบบต่อเนื่อง n ครั้ง คือ x1 %, x2 %,..., xn %
ละมีอัตรำกำรลดลงเป็นร้อยละแบบต่อเนื่อง m ครั้ง คือ y1 %, y2 %,..., yn %
เรำสำมำรถหำจำนวนเงินคงเหลือสุทธิได้ดังต่อไปนี้

 x  x   x  y  y   y 
ยอดเงินเหลือสุทธิ= M 1  1 1  2  ... 1  n  1  1 1  2  ... 1  m 
 100  100   100   100  100   100 

ตัวอย่าง 2.8 สมศักดิ์ลงทุนเปิดร้ำนขำยเครื่องประดับด้วยเงินจำนวน 60,000 บำท ถ้ำในช่วงแรกร้ำนขำดทุน


11% และ 7% ในเดือนแรกและเดือนที่สอง จำกนั้นเริ่มมีกำไร 15%,18% และ 22% ในเดือนที่ 3,4 และ
5 ตำมลำดับ จงหำว่ำเมื่อครบ 5 เดือน นำยสมศักดิ์มีเงินในร้ำนขำยเครื่องประดับนั้นเท่ำไร

(1-0.1114-0.07) (1+0.15) ( 1+0.187111-0.127


won i
tooooo


82217.4

ตัวอย่าง 2.9 ลัดดำมีเงิน 1,000 บำท ต้องกำรสั่งอำหำรมำรับประทำน โดยที่ทำงจะร้ำนคิดค่ำบริกำร 10%


จำกรำคำอำหำรและเครื่องดื่ม และคิดค่ำภำษีมูลค่ำเพิ่ม 7% และมีส่วนลดให้ 10% สำหรับสมำชิก อยำก
ทรำบว่ำลัดดำควรจะสั่งอำหำรและเครื่องดื่มรำคำรวมไม่เกินเท่ำไหร่จึงจะมีเงินพอจ่ำยถ้ำลัดดำเป็นสมำชิกของ
ร้ำนนี้

lever M (1+0.1711+0.07711-0.1)
M 2
944.019

M i 944 Mn
1. ÑÑw •
3000011+0.07) ( 1-0.05/(1-0.03) < 29580.15 Vm

29
2. Goa
- 2000011+0.0774+0.1174+0.17/ (1+0.15711+0.14711-0.06) (1-0.05) 232536.94Wh

แบบฝึกหัด 2.1
1. ห้ำงสรรพสินค้ำแห่งหนึ่งติดรำคำขำยตู้เย็นไว้รำคำ 30,000 บำท แต่ยังไม่รวมภำษีมูลค่ำเพิ่มขึ้น 7% ปิด
ป้ำยลด 5% และลดเป็นพิเศษให้อีก 3% สำหรับผู้ที่มีบัตรสมำชิกซื้อตู้เย็น ถ้ำนำยวสุต้องกำรซื้อตู้เย็นนี้
จำนวน 1 เครื่องโดยที่นำยวสุมีบัตรสมำชิก แล้วนำยวสุต้องจ่ำยเงินทั้งหมดกี่บำท
2. ถ้ำสมชำยลงทุนในธุรกิจอย่ำงหนึ่งด้วยเงิน 20,000 บำท ถ้ำธุรกิจนั้นได้กำไร 7%,11%,17%,15%,14%
ใน 5 ปีแรก และขำดทุน 6%,5% ใน 2 ปีหลัง จงหำว่ำปลำยปีที่ 7 นำยสมชำยมีเงินในธุรกิจนั้นเท่ำไร
3. ร้ำนค้ำแห่งหนึ่งติดรำคำขำยนำฬิกำไว้ในรำคำเรือนละ 25,000 บำท และลูกค้ำต้องชำระค่ำภำษีมูลค่ำเพิ่ม
7% นำยสมชำยได้ตัดสินใจซื้อนำฬิกำมำจำนวน 2 เรือน และต่อมำได้ขำยต่อให้นำยสมหมำยโดยคิดกำไร
15% จงหำว่ำ
3.1 นำยสมชำยซื้อนำฬิกำเป็นจำนวนเงินกี่บำท
3.2 นำยสมชำยขำยนำฬิกำให้นำยสมหมำยเป็นจำนวนเงินกี่บำท
4. ถ้ำต้นทุนรวมทุกอย่ำงในกำรผลิตเครื่องซักผ้ำของบริษัทแห่งหนึ่งมีค่ำเท่ำกับ X บำทต่อเครื่อง และ
บริษัทผู้ผลิตได้ขำยเครื่องซักผ้ำดังกล่ำวให้แก่ตัวแทนจำหน่ำยโดยคิดกำไร 20% ของรำคำต้นทุน ถ้ำ
บริษัทผู้ผลิตแจ้งแก่ตัวแทนจำหน่ำยว่ำเครื่องซักผ้ำรำคำเครื่องละ 20,125 บำท ซึ่งรำคำนี้ได้รวม
ภำษีมูลค่ำเพิ่ม 10% ไว้แล้ว จงหำว่ำ
4.1. X มีค่ำเท่ำใด
4.2. รำคำเครื่องวซักผ้ำที่ยังไม่รวมภำษีมูลค่ำเพิ่มเครื่องละเท่ำไร
5. ตัวแทนจำหน่ำยเครื่องปรับอำกำศ 3 คน ตั้งรำคำเครื่องโทรสำรและเงื่อนไขดังนี้
- ตัวแทน ก ขำยในรำคำ 30,700 บำท โดยโมโปรโมชันกำรขำยดังนี้ ลดรำคำ 5% จำกที่ตั้งไว้ ถ้ำ
ลูกค้ำจ่ำยเป็นเงินสดจะได้ลดเพิ่มอีก 2% จำกรำคำสุทธิ ถ้ำเป็นสมำชิกของร้ำนจะได้ลดพิเศษอีก
3% จำกรำคำที่ลดแล้ว
- ตัวแทน ข ขำยในรำคำ 30,700 บำท โดยโมโปรโมชันกำรขำยดังนี้ ลดรำคำ 2% จำกที่ตั้งไว้ ถ้ำ
ลูกค้ำจ่ำยเป็นเงินสดจะได้ลดเพิ่มอีก 8% จำกรำคำสุทธิ
- ตัวแทน ค ขำยในรำคำ 30,700 บำท โดยโมโปรโมชันกำรขำยดังนี้ ลดรำคำ 3% จำกที่ตั้งไว้ ถ้ำ
ลูกค้ำจ่ำยเป็นเงินสดจะได้ลดเพิ่มอีก 3% จำกรำคำสุทธิ ถ้ำเป็นสมำชิกของร้ำนจะได้ลดพิเศษอีก
4% จำกรำคำที่ลดแล้ว
ถ้ำต้องกำรซื้อเครื่องปรับอำกำศเครื่องนี้ในรำคำถูกที่สุดควำซื้อจำกตัวแทนใดและรำคำที่ซื้อถูกที่สุดคือ
รำคำเท่ำใด
30

2.6 การวัดค่าของเงิน
เงิน 1 หน่วย มีค่ำซื้อสินค้ำได้จำนวนหนึ่ง แต่เมื่อเวลำผ่ำนไป เงินปริมำณเท่ำเดิม (1 หน่วย) ซื้อสินค้ำ
ได้มำกขึ้น หมำยควำมว่ำ เงินมีค่ำมำกขึ้น แต่ถ้ำเมื่อไหร่ที่เงินปริมำณเดิม (1 หน่วย) ซื้อสินค้ำได้น้อยลง แสดง
ว่ำเงินมีค่ำน้อยลง
รำคำเฉลี่ย คือ กำรคิดค่ำเฉลี่ยของสินค้ำและบริกำรที่ผู้คนทั่วไปใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น รำคำอำหำร
รำคำน้ำมัน รำคำสิ่งของเครื่องใช้ รำคำค่ำเฉลี่ยดังกล่ำว เรียกว่ำ ดัชนีรำคำผู้บริโภค
(Consumers Price Index ; CPI ) หรือ ดัชนีค่ำครองชีพ
กำรวัดค่ำของเงิน ทำได้โดยกำรเปรียบเทียบรำคำค่ำเฉลี่ยรำคำสินค้ำและบริกำรในเวลำต่ำงๆ โดย
กำหนดให้ปีหนึ่งปีใดเป็นปีฐำนสำหรับกำรเปรียบเทียบ

ตัวอย่าง 2.10 สมมุติปี 2555 เป็นปีฐำนที่มี CPI  100 ถ้ำในปี 2556 ค่ำ CPI  125 หมำยควำมว่ำ ในปี
2555 สินค้ำทีเ่ คยมีรำคำ 100 บำท นั้นในปี 2556 รำคำของสินค้ำนั้นจะเปลี่ยนเป็น 125 บำท
แสดงว่ำ เงินมีค่าลดลง

ถ้ำเมื่อไหร่ก็ตำมที่มีปริมำณเงินในตลำดมำกกว่ำสินค้ำและบริกำร นั่นก็คือ ผู้คนต้องจ่ำยเงินมำกกว่ำ


ปกติเพื่อจะได้สินค้ำหรือบริกำรเท่ำเดิม หรืออีกนัยหนึ่งก็คือสินค้ำและบริกำรมีรำคำแพงขึ้น เรำจะเรียกเรียก
ภำวะนี้ว่ำ ภาวะเงินเฟ้อ (Inflation)

2.6.1 การคานวณราคาสิ่งของ
ถ้ำสมมุติว่ำรำคำสิ่งของเป็นไปตำมค่ำดัชนีรำคำผู้บริโภค (CPI)

ct
รำคำสิ่งของในปีต่ำงๆ At  A
c

c
ค่ำของเงิน Vt 
ct

เมื่อ c คือ ค่ำ CPI ในปีฐำน หรือปีที่ใช้เปรียบเทียบ


ct คือ ค่ำ CPI ในปีที่ต้องกำรคำนวณ
A คือ รำคำในปีฐำน หรือปีที่ใช้เปรียบเทียบ
31

ตัวอย่าง 2.11 กำหนดค่ำดัชนีรำคำผู้บริโภคของประเทศไทยในปีต่ำงๆ เป็นดังนี้


ปี 2554 2555 2556 2557 2558 2559
ค่ำ CPI 100 101.6 104.1 107.8 114.3 116.4

ก. ในปี พ.ศ. 2554 อำหำรมื้อหนึ่งมีรำคำ 30 บำท จงหำรำคำอำหำรมื้อหนึ่งในปี พ.ศ. 2559

At '
A

11¥
z 30 ✗

a
34.92 Mn

ข. รถยนต์ในปี พ.ศ. 2555 มีรำคำ 650,000 บำท จงหำรำคำรถยนต์ชนิดเดียวกันในปี พ.ศ. 2558


(สมมุติว่ำรำคำเป็นไปตำมดัชนีรำคำผู้บริโภค)

Af
'
650000 ✗
114.1
101.6

i
731250 am

ค. ค่ำแรงขั้นต่ำในปี พ.ศ. 2556 เท่ำกับ 300 บำทต่อวัน ถ้ำต้องกำรให้สภำพกำรดำรงชีวิตของผู้ใช้


แรงงำนดีเช่นเดิม ค่ำแรงขั้นต่ำในปี 2559 ควรเป็นวันละเท่ำใด

3001 A ✗

104.1

A - 268.29 m
32

ตัวอย่าง 2.12 จำกข้อมูลดัชนีรำคำผู้บริโภคในตัวอย่ำงที่ 2.11 จงหำ


ก. ค่ำของเงินในปี พ.ศ. 2558 โดยเทียบกับปีฐำน พ.ศ. 2554

!÷ ÷
" ""
%
.
.

ข. ค่ำของเงินในปี พ.ศ. 2559 โดยเทียบกับปีฐำน พ.ศ. 2556

2.6.2 การหาอัตราการเปลี่ยนแปลงค่าของเงิน
เปอร์เซ็นต์กำรเปลี่ยนแปลงค่ำของเงิน = ค่ำของเงินในปีหลัง - ค่ำของเงินในปีก่อน  100
ค่ำของเงินในปีก่อน
vt  v
= 100
v
 
=  c  1 100
 ct 
ตัวอย่าง 2.13 ถ้ำค่ำ CPI เปลี่ยนจำก 125 เป็น 150 จงหำเปอร์เซ็นต์กำรเปลี่ยนแปลงค่ำของเงิน
33

แบบฝึกหัด 2.2
สมมุติสินค้ำมีรำคำตำมดัชนีรำคำผู้บริโภค  CPI  ในประเทศไทยเป็นดังนี้
ปี 2554 2555 2556 2557 2558 2559
ค่ำ CPI 100 101.6 104.1 107.8 114.3 116.4
1. จงหำค่ำของเงินของปี พ.ศ. 2559 เทียบกับปี พ.ศ. 2555
2. จงหำเปอร์เซ็นต์กำรลดค่ำเงิน ในปี พ.ศ. 2554 ถึง 2555
3. ในปี พ.ศ. 2556 กำงเกงตัวละ 500 บำท ในปี พ.ศ. 2559 กำงเกงชนิดเดียวกันควรมีรำคำเท่ำไร
4. ในปี พ.ศ. 2554 สมชัยมีรำยได้เดือนละ 32,000 บำท ในปี 2559 เขำควรมีรำยได้เดือนละเท่ำไร จึงจะ
ถือว่ำรำยได้เท่ำเดิม

You might also like