You are on page 1of 51

วิจัยในชัน

้ เรียน
เรื่อง การพัฒนาทักษะในด้านการอ่านระดับชัน

ประถมศึกษาปี ที่ 2/3
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2563

ผู้วิจัย
นางสาวกรณิการ์ รินนายรักษ์
โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 15 (เวียงเก่าแสนภู
วิทยาประสาท)
อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย
เขต 3
คำนำ

งานวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะในด้านการอ่าน ระดับ
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 2/3 ในรายวิชาภาษาไทย ได้จัดทำขึน

เพื่อประเมินการพัฒนาทักษะในด้านการอ่านให้กับนักเรียน
ผู้วิจัยหวังเป็ นอย่างยิง่ ว่า การวิจัยเรื่องนี ้ จะเป็ นประโยชน์
ต่อ ผู้ท ี่ศึก ษา เพื่อ เป็ นแนวทางในการพัฒ นาทางด้า นการ
เรียน การสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึน

กรณิก าร์ ริน


นายรักษ์
ผู้จัดทำ
สารบัญ

หัวข้อวิจัย
ความสำคัญและที่มา
จุดมุ่งหมาย
ตัวแปรที่ศึกษา
กรอบแนวคิดในการวิจัย
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ขอบเขตของการวิจัย
วิธีดำเนินการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
สรุปผล
ข้อคิดที่ได้จากการวิจัย
ภาคผนวก
วิจัยในชัน
้ เรียน
1. เรื่อง การพัฒ นาทัก ษะในด้า นการอ่า น ระดับ ชัน

ประถมศึกษาปี ที่ 2/3

2. ความสำคัญและที่มา
ในการพัฒนาวิชาภาษาไทย เป็ นการพัฒนาที่เน้นการ
สอนเพื่อ พัฒ นาในด้า นทัก ษะ และการฝึ กประสมคำอ่า น
สะกดคำเป็ นพื้น ฐานในการศึก ษาหาความรู้เ พื่อ พัฒ นาใน
ด้านทักษะและการฝึ กประสมคำอ่านสะกดคำเป็ นพื้นฐานใน
การศึกษาหาความรู้ ในการสอนที่ผ่านมาพบว่า นักเรียน
ในบางส่วน ยังขาดทักษะในด้า นการอ่า น จึง ส่ง ผลมาให้
ต้องมีการปรับปรุง แก้ไข และต้องมีการพัฒนาในทักษะนี ้
อย่างต่อเนื่อง และจากการเรียนการสอนของนักเรียนชัน

ประถมศึกษาปี ที่ 2/3 จากจำนวน 26 คน มีน ักเรียนที่ม ี
ปั ญหาในทักษะด้านการอ่า นอยู่ 6 คน ดังนัน
้ ผู้ท ี่ทำการ
วิจัย จึงหาวิธีการที่จะดำเนินการเพื่อที่จะแก้ปัญหา และ
พัฒนาให้นักเรียนได้เกิดทักษะในด้านการอ่านให้เข้าใจมาก
ยิง่ ขึน

ดัง นัน
้ ในการพัฒ นาในครัง้ นี ้ จะใช้ว ิธ ีก ารประเมิน
นักเรียนควบคู่ไปกับกิจกรรมการเรียนการสอน

3. จุดมุ่งหมาย
เพื่อ เป็ นการพัฒ นาทัก ษะในด้า นการอ่า น ระดับ ชัน

ประถมศึกษาปี ที่ 2/3 ด้วยวิธีการประเมินที่เน้นผู้เรียนเป็ น
สำคัญ

4. ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรต้น 1. วิธีสอนตามปกติ
2. วิธีการประเมินที่เน้นนักเรียนเป็ นสำคัญ
2.1 การทดสอบทักษะในด้านการอ่าน
และข้อเสนอแนะ
ตัวแปรตาม 1. พฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน
2. ทักษะในด้านการอ่าน

5. กรอบแนวคิดในการวิจัย

วิธีการสอนตามปกติและวิธีการ พฤติกรรมการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน


ประเมินที่เน้นนักเรี ยนเป็ นสำคัญ ทักษะในด้านการอ่าน

6. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ผลการวิจัยนี ้ จะเป็ นข้อมูลอย่างหนึ่งที่จะช่วยให้การ
พัฒ นาทักษะในด้า นการอ่า น ด้วยวิธ ีก ารประเมิน ที่เ น้น ผู้
เรียนเป็ นสำคัญ มีการฝึ กทักษะการสะกดคำ การประสม
คำ ที่มีพยัญชนะ สระ ตัวสะกด และวรรณยุกต์ และให้เกิด
ทัศนคติที่ดีต่อวิชาภาษาไทย เพื่อที่จะให้การเรียนการสอน
วิชาภาษาไทยสัมฤทธิผ์ ลยิ่งขึน

7. ขอบเขตของการวิจัย
1. กลุ่ม ที่ศ ึก ษานัก เรีย นชัน
้ ประถมศึก ษาปี ที่ 2/3
จำนวนนัก เรีย นที่ศ ึก ษา 6 คน ของโรงเรีย นอัส สัม ชัญ
ระยอง ในภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2546 ในการทำ
วิจ ัย ครัง้ นี ้ เลือ กนัก เรีย นที่ศ ึก ษาในชัน
้ เรีย น 2 คน ได้
เลือกนักเรียนกลุ่มนีเ้ นื่องจากนักเรียนมีทักษะพื้นฐานในด้าน
การสะกดคำ อ่านคำ ไม่คล่องแคล่ว จึงเป็ นปั ญหาในด้าน
การเรียนในวิชาอื่นๆ โดยครูประจำชัน
้ ได้ติดตามพฤติกรรม
ในด้านการเรียนของนักเรียนกลุ่มนีไ้ ด้อย่างต่อเนื่อง
2. การสอนวิชาภาษาไทย หมายถึง วิธีสอนที่ผ ู้วิจย

ได้สอนตามปกติ โดยมีเทคนิคการสอนแบบใหม่ๆ โดยการ
เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ
3. วิธีการประเมินที่เน้นผู้เรียน เป็ นสำคัญที่ผู้วิจัยได้
ใช้ค วบคู่ก ับ การเรีย นการสอน เพื่อ จะได้ข ้อ มูล จากตัว
นัก เรียนและนำข้อ มูล เหล่า นัน
้ มาปรับปรุงการสอนเพือ ให้
นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างสูงสุด โดยมีวธิ ีการที่ใช้ดงั ต่อไป
นี ้ คือ โดยการสัง เกตการสอนของครู สนทนา ซัก ถาม
นักเรียน การจดบันทึกประจำคาบของนักเรียน การตรวจ
การบ้า น การฝึ กอ่า นสะกดในใบหนัง สือ แบบเรีย นภาษา
ไทย และหนังสือเสริมทักษะการอ่าน
4. พฤติก รรมการเรีย นร ้ข
ู องนัก เรีย น หมายถึง
พฤติกรรมที่นักเรียนแสดงออก ในการเรียนรู้ในวิชาภาษา
ไทย ด้านการอ่านสะกดคำ การเขียนคำตามคำบอกของครู
และการทำแบบฝึ กหัดอ่านสะกดคำ
5. ทักษะการเรียนในวิชาภาษาไทย หมายถึง ความ
สามารถของนักเรีย นในการเรีย นวิช าภาษาไทย เกี่ย วกับ
การอ่านสะกดคำ สามารถบอกถึงพยัญชนะ ต้น สระ ตัว
สะกด และรูปวรรณยุกต์ได้ โดยมีเกณฑ์ผ่านร้อยละ 60
ขึน
้ ไป โดยการทดสอบเก็บคะแนน

8. วิธีดำเนินการวิจัย
1. การกำหนดระยองเวลาทำการวิจ ัย ระยะเวลา
ที่ท ำการวิจ ัย ทัง้ หมด 12 สัป ดาห์ สัป ดาห์ล ะ 2 ครัง้
รวมทัง้ หมด 24 ครัง้ โดยผู้ว ิจ ัย กำหนดให้น ัก เรีย นอ่า น
สะกดคำในหนังสือแบบเรียนภาษาไทย ในแต่ละครัง้ ครูก็
จะบัน ทึก หลัง การอ่า นสะกดคำ อ่า นเนื้อ เรื่อ งในหนัง สือ
แบบเรียนภาษาไทย ลงในตารางบันทึกเพื่อความก้าวหน้า
ของตัวนักเรียน
กำหนดตารางทำการวิจัย
ในการวิจัยครัง้ นี ้ ผู้วิจัยได้ดำเนินการวิจัยตามแผนการ
สอนตามปกติ โดยครอบคลุม เนื้อ หาในการอ่า นสะกดคำ
อ่า นเนื้อ เรื่อ งจากหนัง สือ แบบเรีย นภาษาไทย รวมถึง ฝึ ก
เขียนสะกดคำทุกวันในตอนเช้าก่อนมีการเรียนการสอนใน
ภาคเรียนที่ 2 โดยดำเนินการสอนในตาราง ดังนี ้
สัปดาห์ที่ เนื้อหา กิจกรรม เครื่องมือ
สัปดาห์ที่ ครัง้ ที่ 1
1 คำที่ป ระสม - สอนตามปกติ - แ บ บ ฝึก
สระ อะ -อธิบายวิธีการอ่าน อ่าน
และสระ อา ประสมคำ - แ บ บ
ทดสอบ
- ครัง้ ที่ 2
คำที่ป ระสม - สอนตามปกติ - แ บ บ ฝึก
สระ อะ -อธิบายวิธีการอ่าน อ่าน
และสระ อา ประสมคำ - แ บ บ
ทดสอบ
สัปดาห์ที่ ครัง้ ที่ 1
2 คำที่ป ระสม - สอนตามปกติ - แ บ บ ฝึก
สระ อิ -อธิบ ายวิธ ีก ารอ่า น อ่าน
และสระ อี ประสมคำ - แ บ บ
ทดสอบ
- ครัง้ ที่ 2
คำที่ป ระสม - สอนตามปกติ - แ บ บ ฝึก
สระ อิ -อธิบ ายวิธ ีก ารอ่า น อ่าน
และสระ อ ประสมคำ - แ บ บ
ทดสอบ
สัปดาห์ที่ ครัง้ ที่ 1
3 คำที่ป ระสม - สอนตามปกติ - แ บ บ ฝึก
สระ อึ -อธิบ ายวิธ ีก ารอ่า น อ่าน
และสระ อือ ประสมคำ - แ บ บ
ทดสอบ
- ครัง้ ที่ 2
คำที่ป ระสม - สอนตามปกติ - แ บ บ ฝึก
สระ อึ -อธิบ ายวิธ ีก ารอ่า น อ่าน
และสระ อือ ประสมคำ - แ บ บ
ทดสอบ

สัปดาห์ที่ ครัง้ ที่ 1


4 คำที่ป ระสม - สอนตามปกติ - แ บ บ ฝึก
สระ อุ -อธิบ ายวิธ ีก ารอ่า น อ่าน
และสระ อู ประสมคำ - แ บ บ
ทดสอบ
- ครัง้ ที่ 2
คำที่ป ระสม - สอนตามปกติ - แ บ บ ฝึก
สระ อุ -อธิบ ายวิธ ีก ารอ่า น อ่าน
และสระ อู ประสมคำ - แ บ บ
ทดสอบ
สัปดาห์ที่ ครัง้ ที่ 1
5 คำที่ป ระสม - สอนตามปกติ - แ บ บ ฝึก
สระ เอ -อธิบ ายวิธ ก
ี ารอ่า น อ่าน
และสระ แอ ประสมคำ - แ บ บ
ทดสอบ
- ครัง้ ที่ 2
คำที่ป ระสม - สอนตามปกติ - แ บ บ ฝึก
สระ เอ -อธิบ ายวิธ ีก ารอ่า น อ่าน
และสระ แอ ประสมคำ - แ บ บ
ทดสอบ
สัปดาห์ที่ ครัง้ ที่ 1
6 คำที่ป ระสม - สอนตามปกติ - แ บ บ ฝึก
สระ โอ -อธิบ ายวิธ ีก ารอ่า น อ่าน
ส ร ะ ไ อ , ประสมคำ - แ บ บ
ใอ ทดสอบ
- ครัง้ ที่ 2
คำที่ป ระสม - สอนตามปกติ - แ บ บ ฝึก
สระ โอ -อธิบ ายวิธ ีก ารอ่า น อ่าน
สระ ไอ , ประสมคำ - แ บ บ
ใอ ทดสอบ

สัปดาห์ที่ ครัง้ ที่ 1


7 คำที่ป ระสม - สอนตามปกติ - แ บ บ ฝึก
สระ อำ -อธิบ ายวิธ ีก ารอ่า น อ่าน
และสระ เอา ประสมคำ - แ บ บ
ทดสอบ
- ครัง้ ที่ 2
คำที่ป ระสม - สอนตามปกติ - แ บ บ ฝึก
สระ อำ -อธิบ ายวิธ ีก ารอ่า น อ่าน
แ ล ะ ส ร ะ ประสมคำ - แ บ บ
เอา ทดสอบ
สัปดาห์ที่ ครัง้ ที่ 1
8 คำที่ป ระสม - สอนตามปกติ - แ บ บ ฝึก
สระ เอาะ -อธิบ ายวิธ ีก ารอ่า น อ่าน
และสระ ออ ประสมคำ - แ บ บ
ทดสอบ
- ครัง้ ที่ 2
คำที่ป ระสม - สอนตามปกติ - แ บ บ ฝึก
สระ เอาะ -อธิบ ายวิธ ีก ารอ่า น อ่าน
และสระ ออ ประสมคำ - แ บ บ
ทดสอบ
สัปดาห์ที่ ครัง้ ที่ 1
9 คำที่ป ระสม - สอนตามปกติ - แ บ บ ฝึก
สระ เอือ -อธิบ ายวิธ ีก ารอ่า น อ่าน
และสระ เอีย ประสมคำ - แ บ บ
ทดสอบ
- ครัง้ ที่ 2
คำที่ป ระสม - สอนตามปกติ - แ บ บ ฝึก
สระ เอือ -อธิบ ายวิธ ีก ารอ่า น อ่าน
แ ล ะ ส ร ะ ประสมคำ - แ บ บ
เอีย ทดสอบ
สัปดาห์ที่ ครัง้ ที่ 1
10 คำที่ป ระสม - สอนตามปกติ - แ บ บ ฝึก
สระ อัว -อธิบ ายวิธ ีก ารอ่า น อ่าน
แ ล ะ ส ร ะ เ อ ะ ประสมคำ - แ บ บ
,สระ แอะ ทดสอบ
- ครัง้ ที่ 2
คำที่ประสม - สอนตามปกติ - แ บ บ ฝึก
สระ อัว -อธิบ ายวิธ ีก ารอ่า น อ่าน
แ ล ะ ส ร ะ เ อ ะ ประสมคำ - แ บ บ
,สระ แอะ ทดสอบ
สัปดาห์ที่ ครัง้ ที่ 1
11 คำที่ป ระสม - สอนตามปกติ - แ บ บ ฝึก
สระโอะ -อธิบ ายวิธ ีก ารอ่า น อ่าน
แ ล ะ ส ร ะ ประสมคำ - แ บ บ
เออะ ทดสอบ
- ครัง้ ที่ 2
คำที่ป ระสม - สอนตามปกติ - แ บ บ ฝึก
สระโอะ -อธิบ ายวิธ ีก ารอ่า น อ่าน
แ ล ะ ส ร ะ ประสมคำ - แ บ บ
เออะ ทดสอบ
สัปดาห์ที่ ครัง้ ที่ 1
12 คำที่ป ระสม - สอนตามปกติ - แ บ บ ฝึก
สระเอียะ -อธิบายวิธีการอ่าน อ่าน
แ ล ะ ส ร ะ ประสมคำ - แ บ บ
อัวะ , เออ ทดสอบ
- ครัง้ ที่ 2 - สอนตามปกติ
คำที่ป ระสม -อธิบายวิธีการอ่าน - แ บ บ ฝึก
สระเอียะ ประสมคำ อ่าน
และสระ - แ บ บ
อัวะ , เออ ทดสอบ
2. ในการสอนทุก สัป ดาห์ ผูว้ ิจ ัย ได้ด ำเนิน การใช้ว ธิ ี
การประเมินที่เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ ดังนี ้ การสังเกตการ
สอนของครู การสนทนาพูดคุยกับนักเรียน การอ่านสะกด
ของนักเรียนการตรวจแบบฝึ กหัด แบบมีข้อมีข้อเสนอแนะ
และข้อคิดเห็น

3. วิธ ีก ารสอนทัง้ ใน 12 สัป ดาห์ ผู้ว ิจ ัย ได้ด ำเนิน


การสอนดังต่อไปนี ้

ขัน
้ นำเข้าสู่บทเรียน
ครูทบทวนการประสมคำ ที่มีพยัญชนะต้น สระ ตัว
สะกดและรูปวรรณยุกต์ โดยครูเขียนคำ และให้นักเรียน
ออกไปเขียนแสดงการกระจายคำต่อไปนี ้

คำ พยัญชนะ สระ ตัวสะกด รูป


ต้น วรรณยุก
ต์
ขยะ ขย - - -
ว่าว ว - ว -
ตลาด ตล - ด -
ปั ้ น ป - น -
หลับ หล - บ -
ขัน
้ สอน
1. ครูอ ภิป รายเกี่ย วกับ หลัก ในการประสมคำ ด้ว ย
สระต่างๆว่าประสมสระใดบ้าง ที่มีต่อสะกดแล้วรูปสระจะ
เปลี่ยนรูปหรือเรียกว่าสระลดรูป
2. ครูยกตัวอย่างคำที่ประสมด้วยสระ - เช่นคำว่า
กะ ก + = กะ ครูอ ธิบ ายถึง คำที่ป ระสม สระ -
ที่ไ ม่ม ีต ัว สะกด จะยัง คงรูป สระ - ไว้ด งั เดิม และถ้า
ประสมสระ - และมีตัวสะกด จะเปลี่ยนรูปจากสระ
- เป็ นไม้หันอากาศ เช่น ก + + บ = กับ
3. ครูอ ภิป รายเกี่ยวกับ การประสมคำด้ว ยสระต่า งๆ
ตามตารางการสอนที่ได้กำหนดไว้ทงั ้ 12 สัปดาห์
4. ให้นักเรียนทำแบบฝึ กหัดและอ่านสะกดคำ
ขัน
้ สรุป
1. ครูและนักเรียนช่วยกัน อภิป รายสรุป เกี่ยวกับการ
ประสมคำที่มีสระต่างๆ ทัง้ ทำที่มีตัวสะกดและไม่มีตัวสะกด
2. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึ กหัดโดยการอ่านสะกดคำ
3. ตรวจแบบทดสอบโดยการเขียนข้อเสนอแนะและ
ข้อคิดเห็น

9. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
1. เครื่อ งมือ ที่ใ ช้ใ นการสอนหมายถึง สื่อ วัส ดุ
อุปกรณ์
2. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบ
ด้วย
2.1 แบบบันทึกประจำสัปดาห์ของครู หมาย ถึง
การที่ครูสังเกตพฤติกรรมการสอนของครูและพฤติกรรมการ
เรียนรู้ของนักเรียน จากนัน
้ มาทำการจดบันทึกสรุปประจำ
สัปดาห์ สัปดาห์ละ 1 ครัง้ โดยครอบคลุม 4 ประเด็น
ดัง นี ้ การสัง เกตการสอนของครู การสนทนาพูด คุย กับ
นักเรียน การตรวจเช็คการอ่านในแต่ละครัง้ ของนักเรียนใน
ตาราง โดยมีก ารควบคุม การเรีย นการสอนทัง้ หมด 24
ครัง้
2.2 แบบตารางดำเนินการสอนของครู 12 สัปดาห์
= 2 / สัปดาห์
2.3 แบบทดสอบแบบฝึ กอ่านสะกดคำ
2.4 แบบตารางคะแนนในการอ่า นสะกดค ำของ
นักเรียนแต่ละคน
2.5 ได้น ำแบบฝึ กอ่า นสะกดคำมาวิเ คราะห์ผ ลการ
เรียนรู้
10. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
10.1 พฤติกรรมการเรียน
จากแบบสังเกตซึ่งผู้วิจัยบันทึกในเครื่องมือ การ
ว ิเ ค ร า ะ ห ์ต อ น น ี ้ ผ ู้ว ิจ ัย ไ ด น
้ ำแบบตารางการบน
ั ท ึก
พฤติกรรมของครูที่จดบันทึกไว้มาสังเคราะห์สรุปเป็ นจำนวน
12 ครัง้ โดยได้ทำเป็ นตารางการบันทึก ดังนี ้
บันทึกพฤติกรรมการสอนของครูและการเรียน
บันทึก
ของนักเรียน
สัปดาห์ที่
ก่อนเรียน หลังเรียน
1 ครูให้นักเรียนอ่านคำ ครูให้นักเรียนอ่านซ้ำคำ
ต า ม แ บ บ ฝึ ก อ ่า น เดิมหลังจากการอธิบาย
เป็ นคำที่ป ระสมด้ว ย เกี่ย วกับ เนื้อ หาที่เ รีย น
สระ อะ , อา มีตวั นัก เรีย นสา มารถอ า่ น
ส ะ ก ด แ ล ะ ไ ม ่ม ีต ัว ออกได้อย่างคล่องแคล่ว
สะกด นัก เรีย นอ่า น
ได้แต่ไม่คล่องแคล่ว
2 ครูให้นักเรียนอ่านคำ ครูให้นักเรียนอ่านซ้ำคำ
ตามแบบฝึ กอ่าน เป็ น เดิมหลังจากการอธิบาย
ค ำ ท ี่ป ร ะ ส ม ด ้ว ย เกี่ย วกับ เนื้อ หาที่เ รีย น
ส ร ะ อ ิ , อ นัก เรีย นสา มารถอ า่ น
นักเรียนอ่านได้ ออกได้อย่างคล่องแคล่ว
3 ค ร ูใ ห น
้ ัก เ ร ีย น อ ่า น ครูให้นักเรียนอ่านซ้ำคำ
คำถาม แบบฝึ กอ่า น ที่ประสมด้วยสระ อึ, อือ
เป็ นคำที่ป ระสมด้ว ย ห ล ัง จ า ก ท ี่ค ร ูไ ด ้ส อ น
สระ อึ, อือ นักเรียน น ัก เ ร ีย น ส ่ว น ใ ห ญ ่
อ่านแต่ไม่คล่อง สามารถอ่านได้ดี
4 ค ร ูใ ห น
้ ัก เ ร ีย น อ ่า น ครูใ ห้น ัก เรีย นอ่า นแบบ
แบบฝึ กที่ประสมด้วย ฝึ ก อ ่า น ท ี่ป ร ะ ส ม ด ้ว ย
สระ อุ , อู นัก เรีย น สระ อุ , อู หลังจากครู
3 ค น อ า่ น ไ ด ้ แ ต ่ อ ธ บ
ิ า ย ก า ร อ ่า น อ อ ก
นักเรียนอีกคนยังอ่าน เรียงของการประสมกับ
ไม่คล่อง สระ อุ , อู นักเรีย นทัง้
4 คน สามารถอ่า นได้
อย่างคล่องแคล่ว
บันทึกพฤติกรรมการสอนของครูและการ
บันทึก
เรียนของนักเรียน
สัปดาห์ที่
ก่อนเรียน หลังเรียน
5 ค ร ูใ ห น
้ ัก เ ร ีย น อ ่า น ค รูใ ห น
้ ัก เ ร ีย น อ ่า น
แบบฝึ กที่ประสมด้วย แบบฝึ กอ่านที่ประสม
สระเอ,แอ นักเรียน ด้วยสระเอ,แอ หลัง
ย งั อ ่า น ไ ด ้ไ ม ่ จ า ก ค รูอ ธ ิบ า ย ก า ร
คล่องแคล่ว อ า่ น อ อ ก เ ส ีย ง ข อ ง
การประสมด้ว ยสระ
เ อ , แ อ น ัก เ ร ีย น
ส า ม า ร ถ อ ่า น อ อ ก
เสียงได้อย่างถูกต้อง
6 ค ร ูใ ห น
้ ัก เ ร ีย น อ ่า น ค รูใ ห น
้ ัก เ ร ีย น อ ่า น
ออกแบบฝึ กที่ประสม แบบฝึ กอ่านที่ประสม
ด้วยสระ โอ , ไอ , ด้วยสระ โอ , ไอ ,
ใอ นัก เรีย นทัง้ หมด ใ อ ห ล ัง จ า ก ค รูไ ด ้
อ า่ น อ อ ก เ ส ีย ง ไ ด ้ อธิบ ายถึง หลัก วิธ ีใ น
ชัดเจน , ถูกต้อง การอ่า น นัก เรีย น
ทุกคนอ่านได้ถูกต้อง
7 ค ร ูใ ห น
้ ัก เ ร ีย น อ ่า น ค รูใ ห น
้ ัก เ ร ีย น อ ่า น
แบบฝึ กที่ประสมด้วย แบบฝึ กอ่านที่ประสม
สระ อำ , เอา ด้วยสระ อำ , เอา
นักเรียนอ่านได้แต่ยงั ห ล ัง จ า ก ท ี่ค ร ูไ ด ้
ไม่ดีเท่าที่ควร อธบ
ิ า ย ถ งึ ห ล ัก ใ น
ก า ร อ ่า น ท ี่ป ร ะ ส ม
ด้ว ยสระ อำ,เอา
นัก เรีย นทุก คนอ่า น
ได้ถูกต้องทุกคน
8 ค ร ูใ ห น
้ ัก เ ร ีย น อ ่า น ค รูใ ห น
้ ัก เ ร ีย น อ ่า น
แบบฝึ กอ่านที่ประสม แบบฝึ กอ่านที่ประสม
ด้ว ยสระ เอาะ , ด้ว ยสระ เอาะ ,
ออ นัก เรีย นทัง้ หมด ออ หลังจากที่ครูสอน
อ า่ น ไ ด ้แ ต ่ย ัง ต ้อ ง และอธิบ ายหลัก ใน
สะกดคำ อ่า นยัง ไม่ ก า ร อ ่า น อ อ ก เ ส ีย ง
คล่องเท่าที่ควร นัก เรีย นทุก คนอ่า น
ได้ดีมาก
บันทึกพฤติกรรมการสอนของครูและการ
บันทึก
เรียนของนักเรียน
สัปดาห์ที่
ก่อนเรียน หลังเรียน
9 ค ร ูใ ห น
้ ัก เ ร ีย น อ ่า น ค รูใ ห น
้ ัก เ ร ีย น อ ่า น
แบบฝึ กอ่านที่ประสม แบบฝึ กอ่านที่ประสม
ด้วยสระ เอือ , เอีย ด ว้ ย ส ร ะ เ อ ือ ,
น ัก เ ร ีย น บ า ง ค น ย งั เอีย หลังจากที่ครูได้
ต้อ งสะกดคำทีล ะคำ สอนและ
อ่านยัง ไม่ค ล่อ งเท่า ที่ อธ บ
ิ ายห ลัก ใน กา ร
ควร อ่า นคำที่ป ระสมกับ
สระ เอือ , เอีย
นัก เรีย นทุก คนอ่า น
ได้ คล่อง แคล่
วดีมาก
10 ค ร ูใ ห น
้ ัก เ ร ีย น อ ่า น ค รูใ ห น
้ ัก เ ร ีย น อ ่า น
แบบฝึ กอ่านที่ประสม แบบฝึ กอ่านที่ประสม
ด้ว ย อัว , เอะ , ด้ว ยสระ อัว , เอะ
แอะ นักเรียนบางคน , แอะ อีกครัง้ หลัง
ยังอ่านได้ จากที่ค รูอ ธิบ ายการ
ไม่คล่อง อ า่ น ส ะ ก ด ค ำ ท ี่
ประสมด้ว ยสระ อัว
, เอะ , แอะ
นัก เรีย นทุก คนอ่า น
ได้คล่อง แคล่วดีมาก
11 ค ร ูใ ห น
้ ัก เ ร ีย น อ ่า น ค รูใ ห น
้ ัก เ ร ีย น อ ่า น
แบบฝึ กอ่านที่ประสม แบบฝึ กอ่านที่ประสม
สระ โอะ และสระ ด้วยสระ โอะ และ
เออะ นัก เรีย นบาง สระ เออะ หลังจาก
คนยังอ่านไม่ถูกต้อง ที่ค รูอ ธิบ ายหลัก การ
อ่านคำที่ป ระสมด้วย
โอะ และสระ เออะ
นัก เรีย นทุก คนอ่า น
ออกเสียงได้อ ย่า งถูก
ต้องชัดเจนมากขึน

บันทึกพฤติกรรมการสอนของครูและการ
บันทึก
เรียนของนักเรียน
สัปดาห์ที่
ก่อนเรียน หลังเรียน
12 ค ร ูใ ห น
้ ัก เ ร ีย น อ ่า น ค รูใ ห น
้ ัก เ ร ีย น อ ่า น
แบบฝึ กอ่านที่ประสม แบบฝึ กอ่า นอีก ครัง้
ด้ว ยสระ เอีย ะ อัว หลัง จากที่ค รูอ ธิบ าย
เออ นัก เรีย นส่ว น ถึงหลักในการอ่านคำ
ใหญ่ยังอ่านออกเสียง ที่ประสมด้วยสระ เอี
ไม่ถูกต้อง ยะ อ ัว เออ
นัก เรีย นทุก คนอ่า น
ได้ถูกต้องชัดเจน
11. สรุปผล
จากผลในการวิจัยในเรื่องการพัฒนาทักษะในด้านการ
อ่า นของนัก เรีย น ชัน
้ ประถมศึก ษาปี ที่ 2/3 ซึ่ง มีจ ำนวน
นัก เรียน 6 คน คือ พบว่า มีปัญหาในด้า นทัก ษะการอ่า น
สะกดคำ ผูว้ ิจัย จึง ได้ท ดสอบโดยใช้แ บบทดสอบการอ่า น
สะกดคำที่ประสมสระต่างๆ ให้นักเรียนได้ฝึก ผลคือยังต้อง
มีการแก้ไขดังนัน
้ ครูจึงใช้แนวการสอนและเทคนิคต่างๆ ใน
การที่จะให้น ักเรียนมีความเข้า ใจในทัก ษะในด้า นการอ่า น
สะกดคำ และได้ใ ห้เ พื่อ นๆ ในห้อ งได้ม ีส ่ว นร่ว มในการ
แนะนำหลักและวิธใี นการอ่านสะกดคำ หลังจากนัน
้ ครูได้ใช้
ชุดแบบทดสอบชุดเดิม ให้นักเรียนได้ฝึกทดลองอ่านสะกด
คำอีกครัง้ หนึง่ ผลปรากฎว่านักเรียนมีผลสัมฤทธิ ใ์ นด้านการ
อ่า นสะกดคำมีก ารพัฒ นาทัก ษะในด้า นการอ่า นที่ด ีข น
ึ้
มากกว่าร้อยละ 60

12. ข้อคิดที่ได้จากการวิจัย
1. จะช่ว ยให้ผ ู้ว ิจ ย
ั ทราบว่า ในการทำวิจ ัย เรื่อ งการ
พัฒ นาทักษะในด้า นการอ่า น ด้วยวิธ ีก ารประเมนที่เ น้น ผู้
เรียนเป็ นสำคัญมีปัญหาในการวิจัยว่าเป็ นอย่างไรบ้าง
2. เพื่อ สรุปผลการประเมิน แล้วจะได้ม ีการพัฒ นาให้
ตรงกับการพัฒนาทักษะการอ่านได้อย่างรวดเร็ว
ภาคผนวก
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาค
เรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2563

แบบทดสอบ ก่อนเรี ยน หลังเรี ยน

ช ่อ
ื .................................................................
ชัน
้ .......................... เลขที่..........................
แบบฝึ กอ่านสะกดคำที่ป ระสมด้ว ยสระ อะ และ สระ
อา

สัญญา พยายาม สัปดาห์


อันตราย

จักจั่น ตลาด อาทิตย์


ประทับ

กระดาน กระต่าย ถวาย


ยากจน

อากาศ กล้าหาญ ตักบาตร


ปั ญหา

อังคาร มะขาม สะพาน


กระทะ
รวมคะแนนที่ได้

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาค


เรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2563

แบบทดสอบ ก่อนเรี ยน หลังเรี ยน

ช ่อ
ื .................................................................
ชัน
้ .......................... เลขที่..........................

แบบฝึ กอ่านสะกดคำที่ประสมด้วยสระ อิ และ สระ อี

ยินดี กิง้ ก่า ปรีดา


นิว้ ชี ้
อาชีพ หน้าที่ กะทิ
รีดผ้า

สวัสดี จิง้ หรีด ฉีดยา


นาฬิกา

อธิบาย ปฏิทิน บิณฑบาต


ชิงช้า

พิราบ สิงโต สุขี


ยีราฟ

รวมคะแนนที่ได้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาค
เรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2563

แบบทดสอบ ก่อนเรี ยน หลังเรี ยน

ช ่อ
ื .................................................................
ชัน
้ .......................... เลขที่..........................

แบบฝึ กอ่านสะกดคำที่ประสมด้วยสระ อึ และ สระ อือ

สะดือ รู้สึก นับถือ


นักสืบ
แกงจืด ลูกปื น กลางคืน
หนังสือ

เสื้อยืด ยึดถือ เด็กดื้อ


สดชื่น

ข้าศึก ครึกครื้น ซื่อสัตย์


มือปื น

สะอื้น เลขหนึ่ง อึ่ง อ่า ง


ปลาหมึก

รวมคะแนนที่ได้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาค
เรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2563

แบบทดสอบ ก่อนเรี ยน หลังเรี ยน


ช ่อ
ื .................................................................
ชัน
้ .......................... เลขที่..........................

แบบฝึ กอ่านสะกดคำที่ประสมด้วยสระ อุ และ สระ อู

ปลาทู ปลาดุก นกฮูก


ลูกน้ำ

คุณปู ่ ผักบุ้ง รุ้ง กิน น้ำ


ใต้ถุน

มูมมาม ตะครุบ เต้าหู้


ต่อสู้
ฟองสบู่ สุนัข เลขศูน ย์
กระตุ้น

แมงมุม บุญคุณ ที่อยู่


ถั่วพู

รวมคะแนนที่ได้

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาค


เรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2563
แบบทดสอบ ก่อนเรี ยน หลังเรี ยน

ช ่อ
ื .................................................................
ชัน
้ .......................... เลขที่..........................

แบบฝึ กอ่านสะกดคำที่ประสมด้วยสระ เ- และ สระ


แ-

จระเข้ หาบเร่ ว้าเหว่


ก้อนเมฆ

วุน
้ เส้น ประเคน กุญแจ
ตั๊กแตน

แสงแดด อ่อนแอ แห้งแล้ง


แข็งแรง
เร่งรีบ แก้วน้ำ แ ป ล ก ห น า้
กาแฟ

ปั ้ นแป้ ง แกงแค ร ่อ น เ ร
เกเร

รวมคะแนนที่ได้

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาค


เรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2563

แบบทดสอบ ก่อนเรี ยน หลังเรี ยน


ช ่อ
ื .................................................................
ชัน
้ .......................... เลขที่..........................

แบบฝึ กอ่านสะกดคำที่ประสมด้วยสระ โ - , ไ - , ใ -

ลำไย หยากไย่ เชื้อโรค


ไฟไหม้

ทางไกล ไว้ใจ ไฟฟ้ า


โมโห

ขโมย โปรยปราย เหล็กไน


ของโปรด

ใหญ่โต ทิศใต้ กรรไกร


ตะใคร่
ไกวเปล เรือใบ ไอศกรีม
เหลวไหล

รวมคะแนนที่ได้

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาค


เรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2563

แบบทดสอบ ก่อนเรี ยน หลังเรี ยน

ช ่อ
ื .................................................................
ชัน
้ .......................... เลขที่..........................
แบบฝึ กอ่านสะกดคำที่ประสมด้วยสระ อำ และ สระ
เอา

เต้นรำ สีเทา งูเห่า


แม่นยำ

ลำธาร รองเท้า ประจำ


เล้าไก่

ตำรวจ สำคัญ เกาเหลา


โศกเศร้า

ชำนาญ โง่เขลา กำยำ


แนะนำ
เมาเหล้า ส้มตำ สำเภา
สำเนา

รวมคะแนนที่ได้

กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ ภาษาไทย ภาค


เรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2563

แบบทดสอบ ก่อนเรี ยน หลังเรี ยน

ช ่อ
ื .................................................................
ชัน
้ .......................... เลขที่..........................

แบบฝึ กอ่า นสะกดคำที่ป ระสมด้ว ยสระ เ อาะ และ


สระ ออ
ทะเลาะ ปี เถาะ หัวเราะ
ขายเงาะ

ขอพร อ้อนวอน กลอนประตู


ปลอดภัย

ดาวเคราะห์ จราจร มังกร


บังอร

เสื้อเกราะ ใจเสาะ น้ำเซาะ


ลูกศร

ละคร ไพเราะ เสนาะ


ลำคลอง

รวมคะแนนที่ได้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาค
เรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2563

แบบทดสอบ ก่อนเรี ยน หลังเรี ยน

ช ่อ
ื .................................................................
ชัน
้ .......................... เลขที่..........................

แบบฝึ กอ่านสะกดคำที่ประสมด้วยสระ เ อือ และ สระ


เอีย

มะเมีย น้ำเกลือ ทิศเหนือ


กระเทียม
นกเหยีย
่ ว ข้าวเหนียว เชื่องช้า
เงียบเหงา

ขนมเบื้อง นางเงือก เปรียบเหมือน


เลื้อยคลาน

ระเบียง เกี่ยวข้าว เกือกม้า สี


เทียน

เขียวอ่อน เกียจคร้าน เลย


ี้ ว
ขวา ไม้เรียว

รวมคะแนนที่ได้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาค
เรียนที่ ปี การศึกษา 2563

แบบทดสอบ ก่อนเรี ยน หลังเรี ยน

ช ่อ
ื .................................................................
ชัน
้ .......................... เลขที่..........................

แบบฝึ กอ่า นสะกดคำที่ป ระสมด้ว ยสระ อัว และ สระ


เอะ , แอะ

ลบบวก ดอกบัว ลวกผัก


ขายขวด

ดินร่วน พรวนดิน หมูส ะเต๊ะ


เสด็จ
รสเผ็ด เกะกะ เหม็นเน่า
เมล็ด

เอร็ดอร่อย เกร็ดความรู้ แคระแกร็น


ถั่วแระ

แป๊ ะซะ กระเสาะ นม


แพะ แข็งแรง
กระแสะ

รวมคะแนนที่ได้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาค
เรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2563

แบบทดสอบ ก่อนเรี ยน หลังเรี ยน

ช ่อ
ื .................................................................
ชัน
้ .......................... เลขที่..........................

แบบฝึ กอ่านสะกดคำที่ประสมด้ว ยสระ โ อะ และ สระ


เออะ

ธงชาติ ดนตรี เหมาะสม


วงกบ

โป๊ ะไฟ อดทน ดื่มนม


เคารพ

น้ำกรด บนโต๊ะ เปรอะเปื้ อน


เยอะแยะ
เคอะเขิน หนาเตอะ เหนย
ี ว
เหนอะ เฉอะแฉะ

เกรอะกรัง กรงนก หลงทาง


ชื่นชม

รวมคะแนนที่ได้

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาค


เรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2563

แบบทดสอบ ก่อนเรี ยน หลังเรี ยน


ช ่อ
ื .................................................................
ชัน
้ .......................... เลขที่..........................

แบบฝึ กอ่านสะกดคำที่ประสมด้วยสระ เอียะ ,อัว , เอ อ

ขนมเปี๊ ยะ รองเท้าเกี๊ยะ เปาะเปี๊ ยะ


ขาวจั๊วะ

โอยั๊วะ ตีเพี๊ยะ ก่อเกิด


ค่าเทอม

เฉยเมย ลงเอย เพื่อ นเกลอ


เปรียบเปรย

สม่ำเสมอ เปิ ดเผย ชมเชย


อำเภอ
ร่าเริง บังเอิญ เสริมแรง
เอิกเกริก

รวมคะแนนที่ได้

You might also like