You are on page 1of 10

CHEMISTRY ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม

โดย

นายธน ธนธารงกุล
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนปิยะบุตร์
สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๕
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
 อุตสาหกรรมแร่  อุตสาหกรรมการผลิตโซดาไฟ  อุตสาหกรรมการผลิตปุ๋ย
 อุตสาหกรรมเซรามิก และปูนซีเมนต์  อุตสาหกรรมการผลิตสารฟอกขาว  อุตสาหกรรมการผลิตผงชูรส
 อุตสาหกรรมการผลิตเกลือแกง  อุตสาหกรรมการผลิตโซดาแอช

อุตสาหกรรมแร่
แร่ (minerals) หมายถึ ง ธาตุ หรื อ สารประกอบที่เกิ ดขึ้น เองตามธรรมชาติ มักอยู่ในรูป สารประกอบ,
ออกไซด์, ซัลไฟด์, คาร์บอเนต, ซัลเฟต
สินแร่

แร่ประกอบหิน แร่เศรษฐกิจ

ใช้งานได้ทันที ไม่ต้องถลุง เช่น ต้องถลุงให้มีความบริสุทธิ์มากขึ้นก่อนนาไปใช้งาน


- หินแกรนิต : มีแร่ควอตซ์, เฟลด์สปาร์, ไมก้า - ดีบกุ - พลวง - สังกะสี
- หินปูน : มีแร่แคลไซต์ - แคดเมียม - แทนทาลัม - ไนโอเบียม
- หินทราย : มีแร่ควอตซ์, ซิลิกา, เหล็กออกไซด์ - เซอร์โคเนียม และแร่อื่นๆ

ส่วนใหญ่ใช้ในงานก่อสร้าง และงานประดับตกแต่ง ใช้ ใ นงานอุ ต สาหกรรมประเภทต่ า งๆ เช่ น งาน


ก่อสร้าง, อุตสาหกรรมอาหาร, อุตสาหกรรมสิ่งทอ,
อุตสาหกรรมรถยนต์, อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์

การถลุงแร่เศรษฐกิจ ในการถลุงต้องมี 2 กระบวนการที่เกี่ยวข้องเสมอ ดังนี้


 การย่างแร่ (Roasting) คือการนาแร่ที่อยู่ในรูปสารประกอบอื่น เช่น ซัลไฟด์, ซัลเฟต, คาร์บอเนต ไปเผา (ทา
 กับ O2 ในอากาศ) เพื่อให้เปลี่ยนไปอยู่ในรูปสารประกอบออกไซด์
Ex 2Sb2S3 + 9O2  2Sb2O3 + 6SO2
 การรีดิวซ์ด้วย C หรือ CO คือการทาให้แร่ที่อยู่ในรูปสารประกอบออกไซด์ (ที่ได้จากการย่างแร่) กลายเป็น
ธาตุที่บริสุทธิ์ (อาจไม่ 100%) โดยการใช้ C หรือ CO เป็นตัวรีดิวซ์
- ถ้าใช้ C (ถ่าน) เป็นตัวรีดิวซ์ จะได้ผลิตภัณฑ์เป็นแร่บริสุทธิ์ และ CO(g)
Ex ZnO(s) + C(s)  Zn(l) + CO(g)
- ถ้าใช้ CO เป็นตัวรีดิวซ์ จะได้ผลิตภัณฑ์เป็นแร่บริสุทธิ์ และ CO2(g)
Ex Sb2O2(s) + 3CO(g)  2Sb(l) + 3CO2(g)

โดย ครูอาร์ม :: Djehuti ARM กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนปิยะบุตร์ จ.ลพบุรี


เอกสารสรุปบทเรียน เรื่อง “ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม” ห น้ า | 2

รายละเอียดสินแร่ที่สาคัญ กระบวนการถลุง ประโยชน์และมลพิษที่เกิดขึ้น


Sn (ดีบกุ ) Sb (พลวง)
สินแร่ที่ขุดพบ 1) แคสซิเทอไรต์ (SnO2) 1) สติบไนต์ (Sb2S3) หรือ พลวงเงิน
2) สติบิโคไนต์ (Sb2O4 • nH2O) หรือ พลวงทอง
ขั้นตอนการ ไม่ ต้ อ งย่ า งแร่ เพราะแร่ที่ ขุ ด ได้ อยู่ ใ นรู ป สปก. 1) ย่างแร่สติบไนต์ (Sb2S3)
ย่างแร่ ออกไซด์อยู่แล้ว Sb2S3 + 9O2  2Sb2O3 + 6SO2
ตัวรีดิวซ์และ 1) ผสมแร่ SnO2 : C : CaCO3 = 20 : 4 : 5 %w/w 1) ผสมแร่ Sb2O3 : C : Na2CO3 = 20 : 4 : 1 %w/w
ปฏิกิริยา 2) ปฏิกิริยาที่ถ่าน 2) ปฏิกิริยาที่ถ่าน
2C + O2  2CO 2C + O2  2CO
3) ปฏิกิริยาการรีดิวซ์ 3) ปฏิกิรยิ าการรีดิวซ์
SnO2(s) + 2CO(g)  Sn(l) + 2CO2(g) Sb2O3(s) + 3CO(g)  2Sb(l) + 3CO2(g)
มลพิษ/สารเจือ 1) Sn(l) ที่ได้จากการรีดิวซ์ มี SiO2(s) ปนเปื้อน 1) Sn(l) ที่ได้จากการรีดิวซ์ มีสารต่างๆ ปนเปื้อน
ปน และการ 2) กาจัดโดยใช้ CaCO3 (หินปูน) 2) ก าจั ด โดยใช้ Na2CO3 โดยให้ ไ ปจั บ กั บ สาร
กาจัด CaCO3(s)  CaO(s) + CO(g) ปนเปื้อนและตกตะกอน
CaO(s) + SiO2(s)  CaSiO2(s) (ตะกรัน) 3) มีมลพิษที่รุนแรงจาก SO2 ที่ได้จากการย่างแร่
ประโยชน์ของ เคลือบโลหะบรรจุอาหาร, ส่วนผสมทาทองสัมฤทธิ์, ผสมแม่พิมพ์โลหะ, ผสม Pb ทาขั้วแบตเตอรี่, ผสม
สินแร่ ทาตะกัว่ บัดกรี หัวกระสุนปืน

Zn (สังกะสี) Zn (สังกะสี) การถลุงในไทย


สินแร่ที่ขุดพบ 1) สฟาเลอไรต์ (ZnS), ซิงค์ไคต์ (ZnO) 1) สฟาเลอไรต์ (ZnS), ซิงค์ไคต์ (ZnO)
2) สมิทโซไนต์ (ZnCO3) 2) สมิทโซไนต์ (ZnCO3)
ขั้นตอนการ 1) ย่างแร่สฟาเลอไรต์ และ สมิทโซไนต์ 1) นาสินแร่ Zn(s) ที่มีสารปนเปื้อน Cd(s), Cu(s),
ย่างแร่ 2ZnS + 3O2  2ZnO + 2SO2 Sb(s) มาบดละเอียดและเติมกรด H2SO4 จะได้
ZnCO3 + 9O2  ZnO + CO2 ส า ร ล ะ ล า ย ที่ มี ZnSO4, CdSO4, CuSO4,
ตัวรีดิวซ์และ 1) รีดิวซ์ด้วย C หรือ CO ดังสมการ Sb2(SO4)3 ละลายอยู่
ปฏิกิริยา ZnO(s) + C(s)  Zn(l) + CO(g) 2) รีดิวซ์สารละลายโดยใช้ผง Zn จะเกิดปฏิกิริยา
ZnO(s) + CO(g)  Zn(l) + CO2(g) ดังนี้
มลพิษ/สารเจือ 1) Sn(l) ที่ได้จากการรีดิวซ์ มี Pb(s), Cd(s) ปนเปื้อน Zn + CdSO4  ZnSO4 + Cd
ปน และการ 2) กาจัดโดยนา Zn(l) ที่ได้ไปกลั่นลาดับส่วน เพื่อ Zn + CuSO4  ZnSO4 + Cu
กาจัด แยกสารปนเปื้อนออกไป 3Zn + 2Sb2(SO4)3  3ZnSO4 + 4Sb
ประโยชน์ของ ผสมทองแดงได้ทองเหลือง, เคลือบเหล็กกล้าเพื่อ 3) กรองแยก Cd, Cu, Sb ออกจาก ZnSO4 จากนั้น
สินแร่ กันสนิม, ทาถ่านไฟฉาย, ชิ้นส่วนรถยนต์ แยก ZnSO4(aq) โดยใช้กระแสไฟฟ้า ปฏิกิริยาที่
เกิดขึ้นที่ขั้วไฟฟ้า ดังนี้
Cat: Zn2+(aq) + 2e-  Zn(s)
An: H2O(l)  2H+(aq) + ½O2(g) + 2e-

โดย ครูอาร์ม :: Djehuti ARM กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนปิยะบุตร์ จ.ลพบุรี


เอกสารสรุปบทเรียน เรื่อง “ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม” ห น้ า | 3

Cd (แคดเมียม) Ta / Nb (แทนทาลัม / ไนโอเบียม)


แหล่งที่พบ พบในกากตะกอนที่ได้จากการผลิตสังกะสี พบในตะกรันดีบุกในรูปโคลัมไนต์ (TaNb)2O6
ขั้นตอนการ ขั้นตอนการผลิต Cd ขั้นตอนการผลิต (อย่างย่อ)
ผลิต  นาตะกอนที่ได้จากการผลิต Zn มาเติมกรด H2SO4  นาตะกรันดีบุกมาบดละเอียด แล้วเติม H2SO4 และ
จะเกิดปฏิกิริยา ดังนี้ MIBK (Methyl Isobutyl Ketone) จะท าให้ Ta
Cd + H2SO4  CdSO4(s) + H2 ละลายในชั้ น MIBK ส่ วน Nb ละลายในชั้ นกรด
Zn + H2SO4  ZnSO4(aq) + H2 จากนั้นทาให้อยู่ในรูปออกไซด์
Ta  H2TaF7  K2TaF7  Ta2O5
 กรองแยกตะกอน CdSO4(s) ออกจาก ZnSO4(aq)
Nb/H2SO4  Nb2O5
และนามาแยกด้วยกระแสไฟฟ้า จะได้โลหะ Cd ที่
มีความบริสุทธิ์สูง ดังสมการ  จากนั้นนา Ta2O5 และ Nb2O5 ไปรีดิวซ์ด้วย Ca
Cat: Cd2+ + 2e-  Cd(s) โดยมี CaCl2 เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
An: H2O  2H+ + ½O2 + 2e- Ta2O5 + 5Ca  2Ta(s) + 5CaO
Nb2O5 + 5Ca  2Nb(s) + 5CaO
ประโยชน์ของ ท าโลหะผสม, เคลื อ บโลหะกั น สนิ ม , ใช้ ใ น Ta: ทาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์, โลหะผสมของเครื่องบิน
สินแร่ อุตสาหกรรมเซรามิก, ใช้ในเซลล์ไฟฟ้าเคมี Nb: ทาโลหะผสมทนสนิมและการกัดกร่อน, อุปกรณ์
นิวเคลียร์, ส่วนประกอบขีปนาวุธ

การผลิตแร่เซอร์โคเนียม (Zr)
 สินแร่ที่ขุดพบ: ZrSiO4 (เซอร์คอน)
 กระบวนการผลิต:
ZrSiO4 + Na2O 100°C Na2ZrSiO3 H2SO4 Zr(SO4)2 NH3 Zr(OH)4 ∆ ZrO2
 ประโยชน์: ZrO2 ใช้เป็นผงขัดและวัสดุทนไฟ

สรุปเนื้อหาสินแร่ที่สาคัญ กระบวนการถลุง ประโยชน์ และมลพิษที่เกิดขึ้น


Sn Sb Zn – Cd Ta – Nb Zr
การ 1. เตาพ่นลม 1. สติบไนต์ต้องย่างแร่ 1. ย่างแร่ 1.แ ย ก ด้ ว ย ตั ว ท า 1.ท า ป ฏิ กิ ริ ย า กั บ
ถลุง 2. CO เป็นตัวรีดิวซ์ ก่อน 2. เตาพ่นลม ละลาย สารประกอบ Na2O
3. CaCO3 เป็ น ตั ว จั บ 2. เตาพ่นลม 3. CO เป็นตัวรีดิวซ์
มลทิน 4. CO เป็นตัวรีดิวซ์ 4. CaCO3 เป็ น ตั ว จั บ
3. CaCO3 เป็ น ตั ว จั บ มลทิน
มลทิน 5. ใช้ไฟฟ้าเคมี
มลพิษ – 1. SO2 1. SO2 1.สารกัมมันตรังสี –
2. ฝุ่นโลหะ 2. ฝุ่นโลหะ 2.สารละลายกรด-
3. กาก Cd เ บ ส ป น เ ปื้ อ น สู่
สิ่งแวดล้อม

โดย ครูอาร์ม :: Djehuti ARM กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนปิยะบุตร์ จ.ลพบุรี


เอกสารสรุปบทเรียน เรื่อง “ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม” ห น้ า | 4

อุตสาหกรรมเซรามิกส์และปูนซีเมนต์
1. อุตสาหกรรมเซรามิก
 หมายถึง: ผลิตภัณฑ์จากวัตถุดิบธรรมชาติมาผสมปั้นเป็นรูป แล้วเผาเพื่อทาให้เนื้อวัสดุแข็งแรงคงรูปได้
 วัตถุดิบที่ใช้: ดินเหนียว เฟลด์สปาร์, ควอตซ์ เป็นหลัก
 วัตถุดิบเพิ่มคุณภาพ: แร่ดิกไคต์, โดโลไมต์, Al2O3, ZrO2, SiO2
 การขึ้นรูปผลิตภัณฑ์: ทาได้หลายวิธี เช่น การใช้แป้นหมุน, ใช้เครื่องปั้นรูป, อัดเนื้อดินลงแบบโลหะ, การเทแบบ
 สารมลพิษ: ตะกั่วใช้เป็นตัวทาละลายในขั้นตอนเคลือบติดให้สีสดใส เมื่อใส่อาหารร้อน Pb จะละลายปนออกมา
 สรุปขั้นตอนการทาเซรามิก:
เตรียมวัตถุดิบ บดร่อน เลือกวิธีการขึ้นรูป เผาดิบ นาไปใช้งาน
ผสมกับน้า จนได้ ให้เหมาะสมกับการ
“น้าดิบ” นาไปใช้งาน เผาดิบ เคลือบ นาไปใช้งาน

2. อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์
 หมายถึง: ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการบดเม็ดปูนให้เป็นผง โดยเม็ดปูนเกิดจากการผสมกันของแคลเซียมคาร์บอเนต
(CaCO3), ซิลิกา (SiO2), อะลูมินา (Al2O3) และออกไซด์ของเหล็ก (Fe2O3) ในสัดส่วนที่เหมาะสม
 วัตถุดิบที่ใช้: แบ่งเป็น 4 ส่วนหลัก คือ เนื้อปูน, เนื้อดิน, วัตถุปรับปรุงคุณภาพ และสารเติมแต่ง
 สารมลพิษ: ฝุ่นที่เกิดจากการบดเม็ดปูน มีแร่ยิปซัมเป็นองค์ประกอบ เป็นอันตรายต่อปอดอย่างมาก
 สรุปขั้นตอนการทาเซรามิก: มี 2 วิธี ดังนี้
1) การเผาเปียก คือ การนาวัตถุดิบที่บดละเอียดมาคลุกเคล้า กับน้าจนได้ “น้าดิน” แล้วจึงนาไปเผา ใช้เมื่อ
วัตถุดิบมีความชื้นสูง การเผาเปียกจะทาให้เกิดฝุ่นน้อยกว่า แต่ต้นทุนในการเผาจะสูงขึ้นอย่างมาก
2) การเผาแห้ง คือ การนาวัตถุดิบที่บดละเอียดไปเผาทันทีโดยไม่คลุกรวมกับน้า ใช้เมื่อวัตถุดิบมีความชื้นต่า
การเผาแห้งประหยัดเชื้อเพลิงมากกว่าเผาเปียก แต่เกิดฝุ่นมากกว่า
 การนาปูนซีเมนต์ไปใช้ประโยชน์ : ปูนซีเมนต์เมื่อผสมกับน้า CaSO4 จะรวมตัวกับน้าเกิด เป็นสารประกอบ
CaSO4 • 2H2O ซึ่งเป็นของแข็งที่ทนต่อแรงอัดสูง จึงใช้เป็นวัสดุในการก่อสร้าง โดยผสมปูนซีเมนต์กับทรายและหิน
แล้วผสมน้าในอัตราส่วนต่าง
 ประเภทของปูนซีเมนต์: แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1) ปูน ซีเ มนต์ ปอร์ ต แลนด์ คือ ปู นซี เ มนต์ ที่ได้จากเม็ดปูนบด 100% ใช้กับงานที่รับแรงอัดมาก แบ่งได้ 5
ประเภท ตามการใช้งาน
- ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ประเภท 1 : ใช้ทาคอนกรีตสร้างบ้านธรรมดา
- ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ประเภท 2 : ใช้ทาคอนกรีตที่ทนการกัดกร่อนของซัลเฟตและความร้อน
- ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ประเภท 3 : ใช้ทาคอนกรีตทนแรงบีบอัดสูง
- ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ประเภท 4 : ใช้ทาคอนกรีตโครงสร้างหนา (สร้างเขื่อน)
- ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ประเภท 5 : ใช้ทาคอนกรีตทนซัลเฟตสูงมาก (ก่อสร้างในทะเล)
2) ปูนซีเมนต์ผสม คือ ปูนซีเมนต์ที่ได้จากการผสมเม็ดปูน 75% เข้ากับทรายละเอียด 25% ใช้สาหรับงานที่ไม่
ต้องรับน้าหนักมาก เช่น งานฉาบ, เทพื้น, หล่อท่อ, กระเบื้องมุงหลังคา

โดย ครูอาร์ม :: Djehuti ARM กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนปิยะบุตร์ จ.ลพบุรี


เอกสารสรุปบทเรียน เรื่อง “ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม” ห น้ า | 5

อุตสาหกรรมการผลิตเกลือแกง (โซเดียมคลอไรด์) สามารถผลิตได้จาก 2 แหล่ง ดังนี้


1. ผลิตจากน้าทะเล (เกลือสมุทร)
 เกลือที่ละลายอยู่ในน้าทะเล: ได้แก่ NaCl, CaCl2, MgCl2, CaSO4, MgSO4
 การแยกเกลือ NaCl ออกจากเกลืออื่น: โดยอาศัยความสามารถในการละลายน้าของ NaCl ที่ละลายได้ดีที่สุด
เกลือชนิดอื่นๆ จะตกผลึกลงมาก่อน
 ปัญหาการทาเกลือสมุทร: การตกผลึ ก NaCl จะได้ MgSO4 และ MgCl2 ตกผลึ กปนมาด้วยเสมอ สามารถ
กาจัดได้ 2 วิธี คือ การระบายน้าลงนาปลงตลอดเวลาเพื่อกันไม่ให้ MgSO4, MgCl2 ตกผลึก และ การเติมปูน
ขาวเพื่อทาให้ Mg2+ ตกผลึกในรูป Mg(OH)2
 ผลพลอยได้: สัตว์น้าที่ปนมากับน้าทะเล
ระเหย
น้าทะเล ระเหย
+ - 2+
Na , Cl , Mg , วังน้าขัง
Ca2+, SO42- ระเหย
ทาให้โคลนตม ถพ. 1.08
ตกตะกอน ระเหย
นาตาก
ทาให้สิ่งสกปรก ถพ. 1.20
ตกตะกอน นาเชื้อ
นาปลง
ตกผลึก CaSO4
(ยิปซัม)
ตกผลึก NaCl ผลผลิต
2.5–6.0 กิโลกรัมต่อ
พื้นที่ 1 ตารางเมตร

2. ผลิตจากแหล่งน้าผิวดินหรือใต้ดิน (เกลือสินเธาว์)
 ผลิตจากหินเกลือซึง่ มีแร่เฮไลต์ (NaCl) เป็นองค์ประกอบ หรือผลิตจากน้าบาดาลที่มีเกลือละลายอยู่มาก
 กระบวนการผลิต: ละลายหินเกลือให้อยู่ในรูปสารละลาย กรองตะกอนและดินโคลนออก จากนั้นตากน้าเกลือ
ให้แห้ง
 ปัญหาจากการทาเกลือสินเธาว์ : การทาเกลือสินเธาว์จากน้าบาดาล จะทาให้เกิดการยุบตัวของหน้าดิน และ
การตากเกลือทาให้เกิดปัญหาเกลือปนเปื้อนในแหล่งน้าจืด หรือปนลงไปในหน้าดิน
สรุปความแตกต่างของเกลือ
เกลือสมุทร เกลือสินเธาว์
มีปริมาณ NaCl ต่ากว่า ใช้ในการบริโภค มีปริมาณ NaCl สูงกว่า ใช้ในอุตสาหกรรม
มี MgSO4, MgCl2, CaCl2, CaSO4 เจือปนน้อย ชื้นง่าย มี MgSO4, MgCl2, CaCl2, CaSO4 เจือปนน้อย
เหมาะแก่การบริโภค เพราะมีไอโอดีนสูง ไม่เหมาะแก่การบริโภค เพราะมีไอโอดีนต่า

โดย ครูอาร์ม :: Djehuti ARM กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนปิยะบุตร์ จ.ลพบุรี


เอกสารสรุปบทเรียน เรื่อง “ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม” ห น้ า | 6

อุตสาหกรรมการผลิตโซดาแอช
1. โซดาแอช คือ โซเดียมคาร์บอเนต (Na2CO3) บางครั้งอาจเรียกว่า โซดาซักผ้า
2. สารตั้งต้น: CaCO3(s), NH3(aq), NaCl(s)
3. การเตรียม:
 กระบวนการโซลเวย์ (Solvay process)
CaCO3  CaO + CO2
CaO + H2O  Ca2+ + 2OH-
NH3 + H2O + Na+ + Cl- + CO2  NaHCO3(s) + NH4+ + Cl-
2NaHCO3(s)  Na2CO3(s) + H2O + CO2

NH4+ + Cl- + Ca2+ + 2OH-  CaCl2(s) + H2O + NH3

 กระบวนการนิวอาซาฮี (New Asahi process)


NaOH + CO2  NaHCO3
2NaHCO3  Na2CO3 + H2O + CO2

Solvay New Asahi


ข้อดี 1. ใช้เงินลงทุนต่ากว่าวิธีอื่น 1. ผลได้ร้อยละมีปริมาณสูง
2. สามารถน าเอา NH3 กลั บ มาใช้ ใ นกระบวนการ 2. ควบคุม NH4Cl ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ได้ และสามารถน า
ผลิตได้อีก กลับมาใช้ใหม่ในรูปของ NH3 ได้
ข้อเสีย 1. ใช้น้าจืดในกระบวนการผลิตสูงมาก 1. ใช้เงินลงทุนสูงมาก ทาให้โซดาแอชที่ผลิตได้ราคา
2. เกิด CaCl2 ในปริมาณสูงเกินกว่าความต้องการใช้ แพง
ในปฏิกิริย า จึง เป็ นปั ญ หาในการกาจั ด และอาจ
เป็นปัญหาต่อสิ่งแวดล้อม
3. ได้ผลผลิตต่า เมื่อเทียบกับ NaCl ที่ใช้เป็นวัตถุดิบ
มี NaCl ทิ้ ง ไปกั บ น้ าที่ อ าจก่ อ ให้ เ กิ ด ปั ญ หา
สิ่งแวดล้อมเป้นปริมาณมาก
4. ผลพลอยได้: CaCl2
5. การนาไปใช้: ใช้ผลิตแก้ว, แก้น้ากระด้าง และใช้ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี
6. ผลเสีย: - ผลิตภัณฑ์ NH3(g) เมื่อปล่อยสู่สิ่งแวดล้อมจะเกิดอันตราย
- ใช้น้ามาก และน้าที่เหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตมีอุณหภูมิสูงส่งผลกระทบต่อสัตว์น้า

โดย ครูอาร์ม :: Djehuti ARM กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนปิยะบุตร์ จ.ลพบุรี


เอกสารสรุปบทเรียน เรื่อง “ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม” ห น้ า | 7

อุตสาหกรรมการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์ และ แก๊สคลอรีน (NaOH / Cl2) สามารถทาได้หลายวิธี ดังนี้


1. การผลิตโดยใช้เซลล์ไดอะแฟรม (Diaphragm Cell)
+ –
Cl2 H2

NaCl(aq)

NaCl
NaCl NaOH
NaOH + NaCl

Anode Cathode
Diaphragm
An: โลหะไทเทเนียม 2Cl-  Cl2 + 2e-
Cat: เหล็กกล้า 2H2O + 2e-  H2 + 2OH-
สารที่เคลื่อนที่ผ่านไดอะแฟรม: Na+, Cl-
ข้อดี: ได้ NaOH ปริมาณมากกว่าใช้เยื่อแลกเปลี่ยน ข้อเสีย: NaOH มี NaCl ปนเปื้อนมาก
2. การผลิตโดยใช้เยื่อแลกเปลี่ยนไอออน (Ion-exchange membrane)
+ –
Cl2 H2

NaCl
เข้มข้น + H2O
Na
+
-
Cl Na OH
-

NaOH + NaOH
เจือจาง Na เข้มข้น

Anode Cathode
Membrane
An: โลหะไทเทเนียม 2Cl-  Cl2 + 2e-
Cat: เหล็กกล้า 2H2O + 2e-  H2 + 2OH-
สารที่เคลื่อนที่ผ่านเยือ่ แลกเปลี่ยน: Na+
ข้อดี: ได้ NaOH ที่บริสุทธิ์กว่าแบบไดอะแฟรม
โดย ครูอาร์ม :: Djehuti ARM กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนปิยะบุตร์ จ.ลพบุรี
เอกสารสรุปบทเรียน เรื่อง “ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม” ห น้ า | 8

3. การผลิตโดยใช้เซลล์ไดอะแฟรม (Diaphragm Cell)


H2

น้าออก น้าเข้า
Na + Hg

Anode ปั๊มน้า
Cl2

น้าเกลือออก น้าเกลือเข้า
Hg (Cathode)
An: โลหะไทเทเนียม 2Cl-  Cl2 + 2e-
Cat: ปรอทเคลือบโซเดียม (โซเดียมอะมัลกัม) Na+ + e-  Na(s) และ Na + Hg  Na(Hg)x(l)
เมื่อผ่านสารประกอบ Na(Hg)x ไปทาปฏิกิริยากับน้าบริสุทธิ์ จะเกิดปฏิกิริยา: Na(Hg)x + H2O  NaOH + xHg + H2
ข้อดี: ได้ NaOH ที่ไม่มี NaCl ปนเปื้อน ข้อเสีย: เกิดสารปนเปือ้ น Hg ทาให้เกิดโรคมินามาตะ

 ประโยชน์ของ NaOH: ใช้ในอุตสาหกรรมฟอกขาว, ซักล้าง, ผงชูรส, กระดาษ, งานทอผ้า, กาจัดไขมันในท่อน้าทิ้ง


 ผลพลอยได้จากการผลิต NaOH: ทุกวิธีการจะได้แก๊ส Cl2 และ H2 เป็นผลิตภัณฑ์เสมอ ซึ่ง Cl2 ใช้ในการทาสาร
ฟอกขาว และใช้ทา vinyl chloride เพื่อเป็นมอนอเมอร์ในการผลิต PVC

อุตสาหกรรมการผลิตสารฟอกขาว (Bleach)
1. สารฟอกขาว หมายถึง สารประกอบจาพวกไฮโปคลอไรต์ เช่น NaOCl, Ca(OCl)2, Mg(OCl)2
2. กระบวนการเตรียม: ผ่านแก๊ส Cl2 ลงใน NaOH เย็น
3. สมการเคมี: Cl2 + 2NaOH  NaCl + NaOCl + H2
4. ประโยชน์: ใช้เป็นสารฟอกขาว, ใช้เป็นสารฆ่าเชื้อโรค, ฟอกเยื่อกระดาษ

อุตสาหกรรมการผลิตปุ๋ย (Fertilizer)
ธาตุอาหารที่สาคัญในปุ๋ย ได้แก่ N (เร่งใบ ลาต้น), P (เร่งดอก ผล), K (เร่งราก)
1. ประเภทของปุ๋ย
1) ปุ๋ยอินทรีย์ (ปุ๋ยเทศบาล) ได้แก่ ปุ๋ยหมัก และ ปุ๋ยคอก
ข้อดี: ดินร่วนซุย น้าและอากาศถ่ายเทสะดวก ไม่เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ข้อเสีย: พืชได้รับธาตุอาหารไม่ครบถ้วน
2) ปุ๋ยอนินทรีย์ (ปุ๋ยเคมี/ปุ๋ยวิทยาศาสตร์) ได้แก่ ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต, ปุ๋ยยูเรีย, ปุ๋ยฟอสเฟต, ปุ๋ยโพแทสเซียมไนเตรต
ข้อดี: พืชได้รับธาตุอาหารที่ครบถ้วน เพียงพอต่อความต้องการ
ข้อเสีย: ดินเสื่อมสภาพ ส่วนใหญ่เป็นกรด และแข็งตัวไม่ร่วนซุย

โดย ครูอาร์ม :: Djehuti ARM กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนปิยะบุตร์ จ.ลพบุรี


เอกสารสรุปบทเรียน เรื่อง “ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม” ห น้ า | 9

2. การผลิตปุ๋ยวิทยาศาสตร์
1) ปุย๋ แอมโมเนียมซัลเฟต ให้ธาตุ N สูตรของปุ๋ยผสม
2NH3 + H2SO4  (NH4)2SO4 เป็นตัวเลขแสดงอัตราส่วนร้อยละโดย
2) ปุย๋ ยูเรีย ให้ธาตุ N น้าหนักของธาตุหลัก (N – P – K) ที่
2NH3 + CO2  NH2CO2NH4NH2CO2NH4  NH2CONH2 + H2O มีอยู่ในปุ๋ยชนิดนั้นๆ เช่น ปุ๋ยสูตร 16
3) ปุย๋ ซูเปอร์ฟอสเฟต ให้ธาตุ P – 20 – 20 จะมีธ าตุ N อยู่ 16% P
CaF2 • 3Ca3(PO4)2 + 10H2SO4  6H3PO4 + 10CaSO4 + 2HF 20% และ K 20% หรือ ปุ๋ยสู ตร 15
CaF2 • 3Ca3(PO4)2 + 14H2SO4  10Ca(H2PO4)2 + 2HF – 0 – 0 คื อ ปุ๋ ย ที่ มี เ ฉ พ า ะ ธ า ตุ
4) ปุย๋ โพแทสเซียมซัลเฟต ให้ธาตุ K ไนโตรเจนอยู่ 15% เพียงเท่านั้น
K2SO4 • 2MgSO4 + 4KCl  2MgCl2 + 3K2SO4
5) ปุย๋ โพแทสเซียมไนเตรต ให้ธาตุ K
KCl + NaNO3  NaCl + KNO3
3. ปุย๋ เดี่ยวและปุ๋ยผสม
1) ปุ๋ยเดี่ยว หมายถึง ปุ๋ยที่มีสารประกอบที่มีธาตุอาหารเพียงชนิดเดียว เช่น ปุ๋ยไนโตรเจน ปุ๋ยฟอสเฟต ปุ๋ยโพแทสเซียม
2) ปุ๋ยผสม หมายถึง ปุ๋ยที่เกิดจากการผสมปุ๋ยเดี่ยวเข้าด้วยกันในอัตราส่วนต่างๆ ตามความต้องการของพืชแต่ละชนิด

อุตสาหกรรมการผลิตผงชูรส (Flavor enhancers)


1. สูตรทางเคมี: HOOC(CH2)2CHNH2COONa หรือ โมโนโซเดียมกลูตาเมต อาการภั ตตาคารจีน (Chinese
2. กระบวนการผลิต: Restaurant Syndrome; CRS)
แป้งมันสาปะหลังหรือโมลาส (กากน้าตาล) + H2SO4 ∆ น้าตาลกลูโคส เป็นอาการที่เกิดจากการแพ้ผ งชู
น้าตาลกลูโคส + ยูเรีย จุลินทรีย์ แอมโมเนียมกลูตาเมต รส มีอาการชาที่ปาก ลิ้น หายใจ
แอมโมเนียมกลูตาเมต + HCl กรดกลูตามิก + NH4Cl ไม่ออก อาเจียน กระหายน้า และ
กรดกลูตามิก + NaOH ผงชูรส อาจมีผื่นแดงเกิดขึ้น
3. ผลพลอยได้: ได้ NH4Cl ทีส่ ามารถใช้เป็นปุย๋ เพือ่ เพิม่ ธาตุ N ในดินได้
4. ประโยชน์: ใช้ทาผงชูรส น้าซอสปรุงรส หัวน้าปลา
5. การทดสอบผงชูรส: ผงชูรสเป็นสารอาหารประเภทโปรตีน เมื่อเผาแล้วจะไหม้เป็นสีดา หากมีสารเจือปนจะมี
บางส่วนที่ไม่ไหม้และรวมกันเป็นสีขาว
6. การปนเปื้อน: ผงชูรสอาจมีการปนเปื้อนของน้าตาล บอแรกซ์ ฟอสเฟต ซึ่งสามารถทดสอบได้โดย
1) ทดสอบการปนเปื้อนจากบอแรกซ์ (Na2B4O7 • 10H2O)
นาผงชูรสไปละลายน้า แล้วทดสอบกับกระดาษขมิ้น ซึ่งจะเปลี่ยนเป็นสีแดงหากมีบอแรกซ์
2) ทดสอบการปนเปื้อนจากน้าตาล
นาผงชูรสไปละลายน้า แล้วทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์
3) ทดสอบการปนเปื้อนจากฟอสเฟต
นาผงชูรสไปละลายน้า เติมน้าปูนขาวที่ผสมกับกรดน้าส้ม ถ้ามีตะกอนเกิดขึ้นแสดงว่ามีโซเดียมเมตาฟอสเฟต

โดย ครูอาร์ม :: Djehuti ARM กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนปิยะบุตร์ จ.ลพบุรี

You might also like