You are on page 1of 44

สรุปเนื้อหา .

แบบฝึกหัด
วิทยาศาสตร์โลก

2
แร่ประกอบหิน
ROCK-FORMING MINERAL

สันติ ภัยหลบลี้
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. เพื่อจำแนกแร่ประกอบหินที่สำคัญของโลก
2. เพื่อทรำบคุณสมบัตทิ ำงกำยภำพของแร่ประกอบหินในแต่ละชนิด
3. เพื่อเข้ำใจวัฏจักรกำรเกิดหินชนิดต่ำงๆ ในเบื้องต้น

สารบัญ

หน้า
สำรบัญ 1
1. แร่ (Mineral) 2
2. หมวดแร่ซิลิเกต (Silicate Class) 4
3. หมวดแร่ไม่ใช่ซิลิเกต (Non-Silicate Class) 10
4. คุณสมบัติทำงกำยภำพ (Physical Property) 13
5. หิน (Rock) 26
แบบฝึกหัด 29
เฉลยแบบฝึกหัด 42

1
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

1
แร่
Mineral

แร่ (mineral) หมำยถึง ธำตุ หรือ สำรประกอบ ของแข็งที่ เกิดขึ้น เอง


ตำมธรรมชำติ มีโครงสร้ำงผลึกคงที่ มีสูต รเคมี แน่ นอน และมีคุณ สมบัติ ทั้ งทำง
กำยภำพและเคมีที่เฉพำะตัว เช่น แร่ทองคำ แร่ควอตซ์ เป็นต้น นักวิทยำศำสตร์
จำแนกแร่ตำมมูลค่ำออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
1. แร่ เ ศรษฐกิ จ (economic mineral) หมำยถึ ง แร่ ที่ มี มู ล ค่ ำ ทำง
เศรษฐกิจ หรือใช้ประโยชน์ในทำงอุตสำหกรรมได้ เช่น แร่โลหะ อโลหะ เชื้อเพลิง
และแร่รัตนชำติ เป็นต้น
2. แร่ ป ระกอบหิ น (rock forming mineral) หมำยถึ ง แร่ ที่ ไ ม่ ไ ด้ มี
มูลค่ำมำกนัก แต่เป็นองค์ประกอบสำคัญของหิน เช่น แร่ควอตซ์ เฟลด์สปำร์ โอลิ

2
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

วีน และแร่แคลไซต์ เป็ นต้น ซึ่งโดยส่วนใหญ่ เกิดจำกกำรรวมตัวกันตำมสัดส่วน


ต่ำงๆ ของธำตุหลักที่มีมำกในแผ่นเปลือกโลกจำนวน 8 ธำตุ ได้แก่ ธำตุออกซิเจน
ซิลิกอน อะลูมิเนียม เหล็ก แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียมและธำตุแมกนีเซียม
เป็นต้น (รูป 1)

รูป 1. ธำตุที่มีมำกในแผ่นเปลือกโลก

ปัจจุบันนักวิทยำศำสตร์ค้นพบแร่ที่มีอยู่ในโลกแล้วจำนวน 3,000-4,000
ชนิด แต่มีเพียง 20-40 ชนิด เท่ำนั้น ที่เป็นแร่ประกอบหิน อย่ำงไรก็ตำม ปริมำณ
ของแร่ประกอบหิน ทั้งหมดคิดเป็นสัดส่วนประมำณ 95% ขององค์ประกอบแผ่น
เปลื อ กโลก ซึ่ ง นั ก วิ ท ยำศำสตร์ จ ำแนกแร่ ป ระกอบหิ น ออกเป็ น 2 หมวดแร่
(mineral class) คือ หมวดแร่ซิลิเกต (silicate class) และ หมวดแร่ไม่ใช่ซิลิ
เกต (non-silicate class)

3
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

2
หมวดแร่ซิลิเกต
Silicate Class

หมวดแร่ซิ ลิ เกต (silicate class) คื อ หมวดแร่ที่ มี แร่ซิ ลิ ก า (SiO4)


เป็นองค์ประกอบหลัก ซึ่งถือเป็นหมวดแร่ ประกอบหิน ที่มีควำมสำคัญ เนื่องจำก
ประมำณ 95% ของแร่ที่มีอยู่ในโลกเป็นแร่ซิลิกำ โดยแร่ซิลิกำเกิดจำกธำตุซิลิกอน
จำนวน 1 ตัว และธำตุออกซิเจนจำนวน 4 ตัว รวมตัวกันในรูปแบบสำมเหลี่ยมของ
ซิ ลิ ก อนแอนไอออน ที่ มี ป ระจุ รวมของในแต่ ล ะสำมเหลี่ ย มเป็ น -4 (รูป 2) ซึ่ ง
สำมเหลี่ยมของซิลิกอนแอนไอออน จะเป็นพื้นฐำนในกำรเชื่อมต่อกับธำตุไอออน
อื่ น ๆ เช่ น เหล็ ก แมกนี เซี ย ม โปแตสเซี ย ม เป็ น ต้ น เพื่ อก่อตั ว เป็ น แร่ซิ ลิ กำที่ มี
ลักษณะเฉพำะแตกต่ำงกันไป โดยนักวิทยำศำสตร์จำแนกหมวดแร่ซิลิเกตออกเป็น
6 กลุ่มแร่ (group) ตำมรูปแบบกำรเรียงตัวของแร่ซิลิกำ (รูป 3)

4
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

รูป 2. กำรจับตัวกันของธำตุซิลกิ อนและออกซิเจนเป็นแร่ซิลิกำ [Khattak O.]

รูป 3. รูปแบบกำรจับตัวกันของแร่ซิลิกำ

5
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

1) กลุ่มแร่โอลิวีน (olivine group) เกิดจำกแร่ซิลิกำจับตัวกันแบบ ปิ


รามิดฐานสามเหลี่ยมโดด (isolated tetrahedral) (รูป 3) มีแร่โดดเด่น 2 ชนิด
คือ 1) แร่โอลิวีน (olivine) (รูป 4ก) มีสีเขียวมะกอก ซึ่งเป็นแร่องค์ประกอบสำคัญ
ของแผ่ น เปลื อกโลกมหำสมุ ท ร (oceanic crust) และเนื้ อ โลกตอนบน (upper
mantle) และ 2) แร่ ก ำร์ เ นต (garnet) (รู ป 4ข) มี สี แ ดงเลื อ ดหมู เป็ น แร่
องค์ประกอบสำคัญของแผ่นเปลือกโลกทวีป (continental crust)

รูป 4. แร่โอลิวีนและแร่กำร์เนต

2) กลุ่ ม แร่ไพรอคซี นและแอมฟิ โบล (pyroxene and amphibole


group) เกิดจำกแร่ซิลิกำจับตัวกันแบบ สายโซ่ (chain) มีแร่โดดเด่น 2 ชนิด คือ
1) แร่ไพรอคซี น (pyroxene) (รูป 5) เป็ น แร่ซิ ลิ ก ำแบบ สายโซ่ เดี่ ย ว (single
chain) (รูป 3) เป็นแร่องค์ประกอบสำคัญของแผ่นเปลือกโลกมหำสมุทรและเนื้อ
โลก และ 2) แร่แ อมฟิ โบล (amphibole) (รูป 5) เป็ น แร่ซิ ลิ ก ำแบบ สายโซ่ คู่
(double chain) (รูป 3)

6
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

รูป 5. แร่ไพรอคซีนและแร่แอมฟิโบล

3) กลุ่ม แร่ไมกา (mica group) เกิดจำกแร่ซิลิกำจับ ตัวกัน แบบ แผ่ น


(sheet) (รูป 3) มีแร่โดดเด่น 3 ชนิด คือ 1) แร่ดิน (clay mineral) 2) แร่มั สโค
ไวต์ หรือ แร่ก ลี บ หิ น ขำว (muscovite) และแร่ ไบโอไทต์ หรื อ แร่ ก ลี บ หิ น ด ำ
(biotite) (รูป 6) และ 3) แร่คลอไรต์ (chlorite) ซึ่งโดยส่วนใหญ่มีสีเขียว บำงครั้ง
เรียกว่ำ แร่กลีบหินเขียว
4) กลุ่มแร่ควอตซ์ (quartz group) เกิดจำกแร่ซิลิกำเพียงอย่ำงเดียว
จับตัวกันแบบ โครงข่าย (framework) (รูป 3) แร่จัดโครงสร้ำงผลึกโดยกำรจับ
ต่อของปิรำมิดฐำนสำมเหลี่ยมด้วยกันเอง โดยออกซิเจนในทุกปิรำมิดใช้ร่วมกับปิรำ
มิดข้ำงเคียง แร่ควอตซ์เป็นแร่ที่พบมำกที่สุดของแผ่นเปลือกโลกทวีป (รูป 7ก)
5) กลุ่มแร่เฟลด์สปาร์ (feldspar group) (รูป 7ข) ลักษณะโครงสร้ำง
ผลึกคล้ำยกับแร่ควอตซ์ พบมำกที่สุดในแผ่นเปลือกโลกมหำสมุทร แบ่งย่อยเป็น 3
ชนิด คือ 1) เฟลด์สปำร์ชนิดโปแตสเซียม (potassium feldspar, KALSi3O8) 2)
เฟลด์สปำร์ชนิดโซเดียม (sodium feldspar, NaAlSi3O8) หรือเรียกว่ำ แร่อัลไบต์

7
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

(albite) และ 3) เฟลด์ ส ปำร์ ช นิ ด แคลเซี ย ม (calcium feldspar, CaAl2Si2O8)


หรือเรียกว่ำ แร่อะนอร์ไทต์ (anorthite) สำหรับแร่เฟลด์สปำร์ชนิดโปแตชเซียมมี
แร่ โ ด ดเด่ น 3 แ ร่ ได้ แก่ แร่ อ อร์ โ ท เค ลส (orthoclase) แร่ ไ ม โค รไค ล น์
(microcline) และแร่ซ ำนิ ดี น (sarnidine) ถึงแม้ ว่ำ มีสู ต รเคมี ที่ เหมื อนกัน แต่ แร่
ดังกล่ำวมีระบบผลึกที่แตกต่ำงกัน
6) กลุ่มแร่ทัวร์มาลีน (tourmaline group) เกิดจำกแร่ซิลิกำจับตัวกัน
แบบ วงแหวน (ring) มีแร่โดดเด่น คือ แร่ทัวร์มำลีน (tourmaline) (รูป 7ค)

รูป 6. แร่มัสโคไวต์และไบโอไทต์

8
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

รูป 7. แร่โดดเด่นในกลุ่มแร่ควอตซ์ เฟลด์สปำร์และทัวร์มำลีน

9
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

3
หมวดแร่ไม่ไช่ซิลิเกต
Non-Silicate Class

นอกจำกหมวดแร่ซิลิเกต ซึ่งถือเป็นหมวดแร่ประกอบหิน ที่สำคัญ หินที่


พบในเปลือกโลกยังประกอบด้วย หมวดแร่ไม่ใช่ซิลิเกต (non-silicate class)
จำนวนมำก ซึ่งด้วยปริมำณที่มีมำกพอสมควร นักวิทยำศำสตร์ จึงสำมำรถจำแนก
หมวดแร่ไม่ใช่ซิลิเกตออกเป็น 6 กลุ่มแร่ ได้แก่ (รูป 8)
1) กลุ่มแร่คาร์บอเนต (carbonate group) (รูป 8ก) ประกอบด้วยแร่
คัลไซด์ (calcite, CaCO3) และแร่โดโลไมต์ (dolomite, CaMg (CO3)2)
2) กลุ่ มแร่เฮไลด์ (halide group) ได้แก่ แร่เฮไลด์ (NaCl) หรือเกลื อ
แกลง (รูป 8ข) และแร่ฟลูออไรท์ (CaF2) (รูป 8ค)

10
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

รูป 8. หมวดแร่ไม่ใช่ซิลิเกต

3) กลุ่ ม แร่อ อกไซด์ (oxide group) แร่ที่ ส ำคั ญ ในกลุ่ ม แร่นี้ คื อ แร่
ฮีมำไทต์ (hematite, Fe2O3) หรือแร่เหล็กแดง และแร่แมกนีไทต์ (magnetite,
Fe3O4) หรือเหล็กดำ รวมทั้งแร่อื่นๆ อีกบำงส่วน เช่น แร่รูไทล์ (Rutile, TiO2) (รูป
8ง-ฉ) ซึ่งกลุ่มแร่ออกไซด์ถือเป็นกลุ่มแร่ที่มีควำมสำคัญทำงเศรษฐกิจ เนื่องจำกเป็น
สินแร่ที่เป็นแหล่งกำเนิดของเหล็ก โครเมียม แมงกำนีส ดีบุก ทังสเตน เป็นต้น

11
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

4) กลุ่มแร่ซัลไฟด์ (sulfide) แร่ซัลไฟด์ที่สำคัญคือ แร่ไพไรต์ (pyrite,


FeS2) (รูป 8ช) แร่กำลีนำ (galena, PbS) ซึ่งเป็นซัลไฟด์ของตะกั่ว แร่สฟำเลอไรท์
(sphalerite, ZnS) ซึ่ ง เป็ น ซั ล ไฟ ด์ ข อ ง สั ง ก ะ สี แ ล ะ แ ร่ ช ำ ล โค ไพ ไร ต์
(chalcopyrite, CuFeS2) ซึ่งเป็นซัลไฟด์ของทองแดง ดังนั้นกลุ่มแร่ซัลไฟด์จึงเป็น
สินแร่ที่เป็นแหล่งกำเนิดของตะกั่ว สังกะสีและทองแดง เป็นต้น

แร่ไพไรต์ (pyrite) มีฉายาว่า ทองคนโง่ (fool's gold)


เนื่องจากมีสีคล้ายกับทองคา

5) กลุ่ ม แร่ซั ล เฟต (sulfate group) ในธรรมชำติ มี เพี ย ง 2 ชนิ ด ที่


ส ำคั ญ ได้ แ ก่ แร่ แ อนไฮไดรต์ (anhydrite, CaSO4) และแร่ ยิ ป ซั่ ม (gypsum,
CaSO42H2O) (รู ป 8ซ) ซึ่ ง กลุ่ ม แร่ ซั ล เฟตเกิ ด จำกกำรระเหยของน้ ำ ทะเลหรื อ
ทะเลสำบที่อิ่มตัวด้วยสำรละลำยเหล่ำนี้
6) กลุ่มแร่ฟอสเฟต (phosphate) แร่ฟอสเฟตสำคัญที่พบในธรรมชำติ
คือ แร่อพำไทต์ (apatite, Ca5(PO4)3(F,OH,Cl)) (รูป 8ฌ) ซึ่งเป็นแหล่งแร่ที่ให้ธำตุ
ที่เป็นส่วนประกอบสำคัญในปุ๋ย
7) กลุ่มธาตุธรรมชาติ (native element) เช่น เพชร ทองคำ ทองแดง
เป็นต้น

12
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

4
คุณสมบัติทางกายภาพ
Physical Property

ปัจจุบันนักวิทยำศำสตร์นิยมใช้คุณสมบัติทำงกำยภำพเป็นตัวบ่งชี้ควำม
เฉพำะของแร่ในแต่ละชนิดและใช้จำแนกแร่ ซึ่งมีหลำกหลำยคุณสมบัติ ดังนี้
1) สี (color) เป็ นคุ ณ สมบั ติ ที่ เกิ ด จำกปฏิ กิ ริ ย ำของแสงต่ อ 1)
องค์ประกอบทำงเคมี 2) มลทิน ภำยในแร่ 3) กำรจัดเรียงอะตอม และ 4) ควำม
ผิดปกติของโครงสร้ำงภำยในแร่ โดยแร่ในแต่ละชนิดจะมีสีเฉพำะตัว แต่แร่บำง
ชนิดสำมำรถเกิดขึ้นได้หลำยสี เช่น แร่ควอตซ์ปกติใสไม่มีสี แต่อำจเกิดสีต่ำงๆ ได้
เนื่ อ งจำกมี ม ลทิ น เจื อ ปน (รูป 9ก) ดั ง นั้ น สี จึ ง เป็ น คุ ณ สมบั ติ ที่ ใช้ จ ำแนกแร่ใน
เบื้องต้นเท่ำนั้น และหำกจำเป็นต้องจำแนกแร่ จำกสีของแร่ จึงควรพิจำรณำอย่ำง
ระมัดระวัง

13
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

2) สี ผ ง (streak) คื อ สี ที่ เกิด จำกกำรขูด ขีด แร่บ นแผ่ น กระเบื้ องหรือ


แผ่ น สี ผ ง (streak plate) (รู ป 9ข) ซึ่ ง ท ำให้ มี สี ติ ด กั บ แผ่ น สี ผ ง ซึ่ ง อำจไม่
เหมือนกับสีแร่เดิม เช่น แร่ฮีมำไทต์ซึ่งมีสีแดงเมื่อขูดกับแผ่นสีผงจะมีสีน้ำตำลแดง

รูป 9. (ก) แร่ควอทซ์หลำกหลำยสี (ข) สีผงของแร่ชำลโคไพไรต์ [Miller M.]

3) ความแข็ง (hardness) หมำยถึง ควำมทนทำนของแร่ต่อกำรถูกขูด


ขีด กำรตรวจวัดควำมแข็ง อ้ำงอิงตำมระดับควำมแข็งของ มาตราโมส์ (Mohs’
scale) ดังแสดงในตำรำง 1
4) ความถ่วงจาเพาะ (specific gravity) หมำยถึง อัตรำส่วนระหว่ำง
น้ำหนักของสำรต่อน้ำหนักของน้ำบริสุทธิ์ที่มีปริมำตรเท่ำกัน ควำมถ่วงจำเพำะเป็น
คุณสมบัติประจำของแร่ซึ่งขึ้นอยู่กับน้ำหนักอะตอมและกำรจัดตัวของอะตอม แร่ที่
มีควำมถ่วงจำเพำะสูงจะมีน้ำหนักมำก เช่น ทองคำ (ควำมถ่วงจำเพำะ = 19.3)
เงิน (ควำมถ่วงจำเพำะ = 10.5) ส่วนแร่ที่พบโดยทั่วไป เช่น เฟลด์สปำร์และแร่แคล
ไซต์ มีควำมถ่วงจำเพำะอยู่ระหว่ำง 2.6-2.95 โดยมีค่ำเฉลี่ยประมำณ 2.7

14
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

ตาราง 1. ควำมแข็งของแร่ตำมมำตรำโมส์ (Mohs’ scale)


ชนิดแร่ ความแข็ง การตรวจสอบ
แร่ทัลก์ 1 อ่อนลื่นมือ เล็บขูดขีดเป็นรอยได้ง่ำย
แร่ยิปซั่ม 2 เล็บขูดขีดเป็นรอย แต่ผิวฝืดมือ
แร่แคลไซต์ 3 เหรียญสีแดงขูดขีดเป็นรอย
แร่ฟลูออไรท์ 4 มีดหรือตะไบขูดขีดเป็นรอย
แร่อพำไทต์ 5 กระจกขูดขีดเป็นรอย
แร่ออร์โธเคลส 6 ขูดขีดกระจกจะเป็นรอยบนกระจก
แร่ควอตซ์ 7 ขูดขีดกระจกจะเป็นรอยบนกระจกได้ง่ำย
แร่โทแปซ 8 ขูดขีดแร่ที่มีควำมแข็ง 1-7 เป็นรอย
แร่คอรันดัม 9 ขูดขีดแร่ที่มีควำมแข็ง 1-7 เป็นรอย
แร่เพชร 10 ขูดขีดแร่ที่มีควำมแข็ง 1-7 เป็นรอย

แร่ที่มีความแข็งเท่ากันอาจขูดขีดและให้รอยซึ่งกันและกัน
แร่ที่เนื้อร่วน ไม่ได้หมายความว่าแร่นั้นอ่อน
แร่ชนิดเดียวกันอาจมีความแข็งในทิศทางต่างๆ ไม่เท่ากัน

5) ความวาว (luster) หมำยถึง คุณสมบัติในกำรสะท้อนแสงของแร่ทั้ง


จำกบนพื้นผิวแร่และภำยในผลึกแร่ ควำมวำวมีหลำยรูปแบบ (รูป 10) ได้แก่ [กรม
ทรัพยำกรธรณี: www.dmr.go.th]
5.1) วาวแบ บ เพ ชร (adamantine) (รู ป 10ก) เนื องจำกควำม
หนำแน่ น ของผลึ ก สู ง มำก แสงจึ ง สำมำรถสะท้ อ นออกจำกผลึ ก ได้ อ ย่ ำ งมี

15
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

ประสิ ท ธิ ภ ำพ มี ค วำมโปร่ ง ใสหรื อ โปร่ ง แสง โดยส่ ว นใหญ่ เป็ น แร่ อั ญ มณี
(gemstone) เช่น เพชร แร่เซอรูส ไซต์ (cerussite) และแร่เซอร์คอน (zircon)
เป็นต้น
5.2) วาวแบบด้าน (dull) (รูป 10ข) หรือไม่มี ควำมวำว เกิดจำกแร่มี
คุณสมบัติหักเหแสงออกไปทุกทิศทุกทำง เช่น แร่คำโอลีไนต์
5.3) วาวแบบน้ามัน (greasy) มีควำมวำวคล้ำยจำระบี เช่น แร่โอปอล
(opal) (รูป 10ค) และแร่คอร์เดียไรต์ (cordierite)
5.4) วาวแบบโลหะ (metallic) (รูป 10ง) ผิวแร่จะมันวำวเหมือนโลหะ
มักเป็นแร่ที่มีกำมะถันเป็นองค์ประกอบ เช่น แร่กำลีนำและแร่ไพไรต์
5.5) วาวแบบไข่มุก (pearly) (รูป 10จ) มีลักษณะโปร่งใสเล็กน้อย เช่น
แร่มัสโคไวต์และแร่สติลไบต์ (stilbite)
5.6) วาวคล้ายยางสน (resinous) (รูป 10ฉ) มีควำมวำวคล้ำยขี้ผึ้งหรือ
เทียนไข เช่น แร่อำพัน (amber)
5.7) วาวแบบใยไหม (silky) (รูป 10ช) แร่มีกำรเรียงตัวของเส้นใยขนำด
เล็กและมีลักษณะคล้ำยเส้นไหม เช่น แร่แอสเบสตอส (asbestos) หรือแร่ใยหิน
แร่ยูลีไซต์ (ulexite) และแร่ซำตินสปำร์ (satin spar)
5.8) วาวแบบขี้ผึ้ง (waxy) (รูป 10ซ) เป็นควำมวำวคล้ำยกับขี้ผึ้ง เช่น
แร่หยก (jade) และแร่คำลซิโดนี (chalcedony)
5.9) วาวแบบแก้ว (vitreous) เป็ นควำมวำวที่พ บมำกในแร่ เกิดจำก
กำรหักเหหรือกำรสะท้อนแสงของแร่ที่มีดัชนีหักเหต่ำ เช่น แร่แคลไซต์ (calcite)
แร่ ค วอตซ์ (quartz) แร่ โ ทแพซ (topaz) แร่ ทั ว ร์ ม ำลี น (tourmaline) และแร่
ฟลูออไรท์ (fluorite) เป็นต้น

16
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

รูป 10. ควำมวำวของแร่

17
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

6) รอยแตกเรียบ (cleavage) หมำยถึง รอยแยกของแร่ตำมแนวแตก


ของผลึกแร่ซึ่งจะสัมพันธ์กับโครงสร้ำงอะตอม โดยตัดขนำนกับระนำบกำรจับตัว
ของอะตอม (atomic plane) แนวแตกเป็นคุณสมบัติที่สำคัญ เนื่องจำกแร่ในแต่ละ
ชนิดจะมีลักษณะกำรแตกเฉพำะ ได้แก่ (รูป 11ก)
6.1) รอยแตกแนวเดียว แร่สำมำรถแตกและแยกออกเป็นแผ่นๆ ได้ง่ำย
เช่น แร่ไมกำ (รูป 6ก-ข)
6.2) รอยแตก 2 แนว มี 2 แบบ คือ แนวรอยแตกตั้งฉำกกัน เช่น แร่
ออร์โทเคลส และแนวรอยแตกไม่ตั้งฉำกกัน เช่น แร่แอมฟิโบล
6.3) รอยแตก 3 แนว มี 2 แบบ คือ แนวรอยแตกตั้งฉำกกัน ทำให้แร่
แตกเป็นลูกบำศก์ เช่น แร่กำลีนำ (รูป 10ง) และแนวรอยแตกไม่ตั้งฉำก ทำให้แร่
แตกเป็นสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน เช่น แร่แคลไซต์
6.4) รอยแตก 4 แนว คือแนวรอยแตกที่ คล้ ำยกับ รูป สำมเหลี่ย มด้ำ น
ประกบกันเป็นรูปออกตะฮีดรอน เช่น แร่ฟลูออไรท์
7) ความเหนี ย ว (tenacity) คื อ คุ ณ สมบั ติ ข องแร่ เนื่ อ งจำกแรงยึ ด
ระหว่ ำ งอะตอม ท ำให้ แ ร่ มี ค วำมเหนี ย วแตกต่ ำ งกั น ได้ แ ก่ 7.1) เปราะร่ ว น
(brittle) เช่น แร่ฟลูออไรท์และแร่ควอตซ์ 7.2) เหนียว (tough) เช่น แร่ใยหิน
(รูป 12ก) 7.3) ทุ บ หรือรีด เป็ นแผ่นบางได้ (maleable) เช่น ทองคำ เงินและ
ทองแดง 7.4) มีดตัดออกได้ (sectile) เช่น แร่แกรไฟต์ ยิปซั่ม และแร่ทัลก์ 7.5)
บิดโค้งงอได้โดยไม่กลับรูปเดิม (flexible) เช่น แร่ยิปซั่มและแร่ทัลก์ และ 7.6)
บิดให้โค้งงอได้โดยกลับรูปเดิมได้ (elastic) เช่น แร่ไมกำ
8) รอยแยก (fracture) คื อ ลั กษณะกำรแตกของแร่ซึ่ ง ไม่ เป็ น ระนำบ
เรียบและไม่มีทิศทำงที่แน่นอนเหมือนกับรอยแตกเรียก โดยส่วนใหญ่เกิดโดยรอบ

18
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

บริเวณที่ มีควำมผิดปกติหรือมีมลทินในผลึก แร่ รูปแบบของรอยแยกที่พบบ่อยมี


หลำกหลำยแบบ เช่น 8.1) รอยแยกแบบโค้งเว้า (conchoidal) หรือรอยแยก
แบบฝำหอย เช่น รอยแยกในหิน ออปซิเดียน (รูป 12ข) ซึ่งมีองค์ประกอบเป็น แร่
ควอตซ์ 8.2) รอยแยกแบบเสี้ ยน (splintery) เช่ น แร่ไครโซไทล์ (chrysotile)
และ 8.3) รอยแยกแบบแบบขรุขระ (uneven) เช่น แร่แมกนีไทต์ เป็นต้น

รูป 11. (ก) ชนิดของรอยแตกเรียบในแร่ [Rygel M.C.] (ข) รอยแตกเรียบของ แร่


แคลไซต์ [John J.St.]

19
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

รูป 12. ตัวอย่ำงคุณ สมบัติทำงกำยภำพของแร่ (ก) ควำมเหนียว (tenacity) (ข)


รอยแยก (fracture)

9) ลั กษณะผลึก (crystal habit) ผลึ กแร่ในธรรมชำติ มีทั้ ง ผลึ กขนำด


ใหญ่ที่สำมำรถมองเห็นชัดเจนด้วยตำเปล่ำ หรือมีขนำดเล็ก หรือขนำดเล็กมำกจน
ต้องดูด้วยกล้องจุลทัศน์ นอกจำกนี้ผลึกแร่ยังอำจเกิดซ้อนกันหรือรวมกันเป็นกลุ่ม
หรือในกรณีของแร่บำงชนิดอำจไม่แสดงหน้ำผลึกที่ชัดเจน แต่ซ่อนควำมเป็นผลึก
หรือคุณสมบัติผลึกไว้ภำยในแร่ และนอกจำกนั้นยังแสดงลักษณะรูปร่ำงเฉพำะแบบ
(habit) ซึ่งนักวิทยำศำสตร์นำมำใช้ประโยชน์ในกำรจำแนกหรือศึกษำวิจัยแร่ด้วย
เช่น กัน โดยในกำรจำแนกแร่ นั กวิทยำศำสตร์แบ่งย่อย ลักษณะผลึก (crystal
habit) ของแร่ดังแสดงตัวอย่ำงในตำรำง 2 และรูป 13
10) รูปผลึก (crystal form) เกิดจำกกำรจัดตัวอย่ำงเป็นระเบียบของ
โครงสร้ำงภำยในแร่ รูปผลึกประกอบด้วยหน้ำผลึกที่เป็นระนำบเรียบด้ำนต่ำงๆ
ประกอบกันขึ้นเป็นรูปทรงทำงเรขำคณิต แร่บำงชนิดอำจมีรูปผลึกเฉพำะตัวเพียง

20
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

รูปเดียว บำงชนิดอำจมีรูปผลึกได้หลำยรูป นักวิทยำศำสตร์จำแนกรูปผลึกออกเป็น


6 ระบบ ตำมกำรวำงตัวและควำมยำวของแกนผลึก ดังนี้ (รูป 14)
10.1) ระบบไอโซเมตริก (isometric system) มีแกน 3 แกน เท่ำกัน
และตัดกันที่กึ่งกลำงเป็นมุมฉำก รูปผลึกเหมือนลูกเต๋ำ เช่น แร่กำลีนำ เป็นต้น
10.2) ระบบเตตระโกนอล (tetragonal system) มีแกน 3 แกน ตัด
ตั้งฉำกกันที่กึ่ง กลำง 2 แกนยำวเท่ำกัน แกนที่ 3 อำจจะยำวหรือสั้นกว่ำ รูปหน้ำ
ตัดของแร่เป็นรูปสี่เหลี่ยมจตุรัส เช่น แร่ดีบุก เป็นต้น

ตาราง 2. ลักษณะผลึก (crystal habit) ของแร่


ผลึก คาอธิบาย ตัวอย่าง
1. ผลึกชัด มองเห็นผลึกชัดเจน แร่ควอตซ์
(crystallised)
2. ผลึกไม่ชัด ผลึกไม่ชัดเจน และไม่สมบูรณ์ แร่แคลไซต์
(crystalline)
3. เข็ม (acicular) เรี ย วยำวคล้ ำ ยกั บ เข็ ม และ แร่นำโทรไลท์
เรียงรวมกัน
4. ใบมีด (bladed) แผ่นแบนยำวแบบใบมีด แร่สติบไนต์
5. กิ่งไม้ (dendritic) เกิดตำมระนำบชั้นหิน แร่แมงกำนีส
6. รังตำข่ำย ผลึ ก แร่เกำะขั ด กั น ไป-มำ ไม่ แร่รูไทล์
(recticulated) เป็นระเบียบ
7. รัศมี (radiated) กระจำยออกจำกจุ ด กึ่ งกลำง แร่สติปไนต์
เป็นแบบรัศมี

21
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

8. เม็ดถั่วเขียว เม็ดกลมขนำดเม็ดถั่วเขียว แร่ไลโมไนท์


(pisolitic)
9. รอยแตกรูปเสำ แท่งขนำดใหญ่กว่ำรูปเข็มและ แร่ฮอร์นเบลนด์
(columnar joint) เรียงรวมกัน
10. เส้นใย (fibrous) เส้นใยอำจจะแข็งหรืออ่อนนุ่ม แร่ใยหิน
11. พวงองุ่น กลมหรือกลมครึ่งซีกเกิดเกำะ แร่คำลซิโดนี
(botryoidal) รวมกัน
12. ไต (reniform) มนเรียบคล้ำยกับไต แร่ฮีมำไทต์
13. ฝำชี (mammillary) มนโค้งเตี้ยครึ่งซีก แร่ฮีมำไทต์
14. แผ่นซ้อนกัน แผ่นหรือกำบบำงซ้อนกัน แร่ยิปซั่ม
(foliated)
15. แผ่นบำง แผ่ น บำงมำกซ้ อ นกั น ลอก แร่ไมกำ
(micaceous) หลุดออกได้ง่ำย
16. แผ่นหนำ (tabular) แผ่นหนำยึดกันแน่น แยกออก แร่วุลแฟรมไมต์
ไม่ได้
17. มวลเมล็ด (granular) เม็ดเล็กเกำะกันแน่นแบบเม็ด แร่แมกเนไทต์
น้ำตำล
18. รูปหินงอก เป็นแท่งกรวยเคลือบพอกซ้อน แร่คำลซิโดนี
(stalactitic) ต่อกัน
19. จีโอด (geode) ก้อนหิ นข้ำงในเป็นโพรง มีแร่ แร่ควอตซ์
ตกผลึกภำยใน

22
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

รูป 13. ตัวอย่ำงลักษณะผลึก (crystal habit) ของแร่

23
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

รูป 14. รูปผลึก (crystal form) ของแร่

10.3) ระบบออร์โธรอมบิก (orthorhombic system) มีแกน 3 แกน


ตัดตั้งฉำกที่กึ่งกลำงแต่ยำวไม่เท่ำกัน รูปหน้ำตัดของแร่เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ำ เช่น
แร่โทแปซและแร่กำมะถัน เป็นต้น

24
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

10.4) ระบบโมโนคลีนิก (Monoclinic system) มีแกน 3 แกนยำวไม่


เท่ำกันเลย 2 แกนตัดตั้งฉำกกัน ส่วนแกนที่ 3 ตัดทำมุมกับ 2 แกนแรก เช่น แร่ยิป
ซัม่ และแร่ออร์โทเคลส เป็นต้น
10.5) ระบบไตรคลี นิ ก (triclinic system) มี แกน 3 แกน ไม่ เท่ ำกั น
และตัดไม่ตั้งฉำกกัน เช่น แร่ไมโครคลำยน์และแร่เทอร์ควอยซ์ เป็นต้น
10.6) ระบบเฮกซะโกนอล (hexagonal system) มี แกน 4 แกน 3
แกนอยู่ในแนวรำบ ยำวเท่ำกัน และตัดทำมุม 60 องศำ ซึ่งกันและกัน แกนที่ 4
ยำวหรือสั้นกว่ำและตั้งฉำกกับ 3 แกนแรก เช่น แร่ควอตซ์และแร่คอรันดัม เป็นต้น
11) คุณสมบัติอื่นๆ เช่น 11.1) ความเป็นแม่เหล็ก (magnetism) แร่บำง
ชนิ ด ใช้ แ ม่ เหล็ กดู ด ติ ด เช่ น แร่ ฮี ม ำไทต์ และแร่ แมกนี ไทต์ 11.2) การเกิ ด ฟอง
(effervescence) คือ คุณสมบัติของกลุ่มแร่คำร์บอเนต (carbonate group) ซึ่ง
จะเกิ ด ฟองฟู่ เมื่ อ ถู ก กรดไฮโดรคลอริ ก (hydrochloric) 11.3) การเรื อ งแสง
(fluorescence) แร่บำงชนิดอำจมีคุณ สมบัติ เรืองแสงเป็นสีต่ำงๆ เมื่อส่องด้วย
แสงอั ล ตรำไวโอเลต เช่ น แร่ ชี ไ ลต์ 11.4) ความยื ด หยุ่ น (elasticity) 11.5)
รสชาติ (taste) เช่น แร่เฮไลด์มีรสเค็ม 11.6) กลิ่น (odor) เช่น แร่คำโอลีไนต์มี
กลิ่นเหมือนกับดิน 11.7) ความสามารถในการให้แสงผ่าน (diaphaneity) เช่น
โปร่งใส (transparent) สำมำรถมองผ่ ำนทะลุ ก้อนแร่ได้ อย่ ำงชั ด เจน โปร่งแสง
(translucent) แสงผ่ำนได้ แต่ไม่สำมำรถมองผ่ำนได้ ทึบแสง (opaque) แสงผ่ำน
ไม่ได้ เป็นต้น 11.8) ผิวสัมผัส (feel) เช่น แร่ทัลก์ลื่นคล้ำยกับสบู่
นอกจำกนี้ แร่ยังสำมำรถจำแนกได้จำกกำรวิเครำะห์ คุณสมบัติ ทำงเคมี
ซึ่งมมีควำมถูกต้องสูง เนื่องจำกสำมำรถจำแนกองค์ประกอบแร่เป็น ธำตุได้ แต่โดย
ส่วนใหญ่ไม่ค่อยนิยมเนื่องจำกกำรตรวจสอบยุ่งยำกกว่ำคุณสมบัติทำงกำยภำพ

25
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

5
หิน
Rock

หิน (rock) หมำยถึง วัสดุที่เป็นของแข็งซึ่งเกิดขึ้นเองตำมธรรมชำติ โดย


ส่วนใหญ่เป็นสำรอนินทรีย์ซึ่งประกอบด้วย แร่ชนิดเดียวกันหรือหลำยชนิดรวมตัว
กั น แต่ ในบำงกรณี อ ำจมี อิ น ทรี ย วั ต ถุ ร่ว มด้ ว ย เช่ น ถ่ ำ นหิ น (coal) โดยหิ น ที่
กระจำยอยู่ ต ำมพื้ น ที่ ต่ ำงๆ ของโลกจะมี ควำมแตกต่ ำงกัน ไป ขึ้น อยู่ กับ วัตถุต้ น
กำเนิดและสภำพแวดล้อมของกำรเกิด หินดังกล่ำว โดยนักวิทยำศำสตร์จำแนกหิน
ในเบื้องต้นตำมกระบวนกำรเกิดออกเป็น 3 ชนิด คือ (รูป 15)
1) หินอัคนี (igneous rock) คือ หินที่เกิดจำกกำรเย็นและตกผลึกของ
แมกมำ (magma) ทั้งจำกกำรปะทุมำบนพื้นผิวโลกหรือจำกกำรแทรกดันและเย็น

26
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

ตัวอยู่ ภ ำยในแผ่ น เปลือกโลก ซึ่ งแร่ป ระกอบหิ น ที่ ส ำคัญ ของหิ น อั คนี ได้ แก่ แร่
ควอตซ์ เฟลด์สปำร์ ไมกำ ไพรอคซีน แอมฟิโบลและแร่โอลิวีน เป็นต้น
2) หินตะกอน (sedimentary rock) หรืออำจเรียกว่ำ หินชั้น คือ หินที่
เกิดจำกกำรทั บถมของตะกอนซึ่งเกิดจำกกำรผุพั ง ของหิ น ที่มี อำยุแก่กว่ำ ซึ่งแร่
ประกอบหินที่สำคัญของหินตะกอน ได้แก่ แร่ควอตซ์ เฟลด์สปำร์ แคลไซต์ โดโล
ไมต์ ยิปซั่มและแร่เฮไลด์ เป็นต้น
3. หินแปร (metamorphic rock) คือ หินที่แปรสภำพไปจำกหินเดิม
ทั้งจำกหินอัคนี หินตะกอนรวมทั้งหินแปร โดยกำรกระทำของควำมร้อน ควำมดัน
และปฏิ กิริย ำเคมี โดยกำรแปรสภำพหิ น เกิด ในรูป ของแข็ง โดยไม่ มี กำรหลอม
ละลำยซึ่งแร่ประกอบหินที่สำคัญของหินแปร ได้แก่ แร่ควอตซ์ เฟลด์สปำร์ ไมกำ
กำร์เนต ไพรอคซีนและแร่ไคยำไนต์ เป็นต้น
จำกรูป 15 บ่งชี้ว่ำหินสำมำรถเปลี่ยนแปลงไป-มำเป็นหินชนิดอื่นหรือหิน
ชนิด เดิม ได้ เรียกว่ำ วัฏจักรหิ น (rock cycle) ซึ่งกำรเกิดหิ น ชนิดใหม่ ในแต่ล ะ
ชนิดต้องผ่ำนกระบวนกำรเฉพำะตัว ได้แก่ (ดูรูป 5 ประกอบ)
▪ หิ น ที่ เป ลี่ ย น ม ำเป็ น หิ น อั ค นี ต้ อ งผ่ ำน ก ระ บ ว น ก ำรต ก ผ ลึ ก
(crystallization) และกำรแข็งตัวเป็นของแข็ง (solidification)
▪ หิ น ที่ เปลี่ ย นมำเป็ น หิ น ตะกอน ต้ อ งผ่ ำ นกระบวนกำรผุ พั ง อยู่ กั บ ที่
(weathering) กำรพัดพำ (transportation) กำรสะสมตัว (deposition)
ก ำรอั ด แ น่ น (compaction) ก ำรป ระ ส ำน (cementation) แ ล ะ
กระบวนกำรแข็งเป็นหิน (lithification)
▪ หินที่ เปลี่ยนมำเป็ นหิ นแปร ต้องผ่ำนกระบวนกำรให้ ควำมร้อน (heat)
และ/หรือ ควำมดัน (pressure) เป็นต้น

27
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

รูป 15. วัฏจักรหิน (rock cycle)

28
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

แบบฝึกหัด
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่ำนมีโอกำส 1) ทบทวนเนื้อหำ และ 2)
ค้นคว้ำควำมรู้เพิ่มเติม โดยผ่ำนกระบวนกำรสื่อสำรแบบถำม-ตอบ ระหว่ำงผู้เขียน-
ผู้อ่ำน เท่ำนั้น โดยไม่มีเจตนำวิเครำะห์ข้อสอบเก่ำหรือแนวข้อสอบแต่อย่ำงใด

1) แบบฝึกหัดจับคู่
คาอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้ำชื่อแร่ด้ำนขวำ และเติมในช่องว่ำงด้ำนซ้ำยของ
แต่ละข้อที่มีระดับควำมแข็งตำม มาตราโมส์ (Mohs’ Scale) ตรงกัน (H1-H10)

1. ____ H1 ก. แร่แคลไซต์ (calcite)


2. ____ H2 ข. แร่อพำไทต์ (apatite)
3. ____ H3 ค. เพชร (diamond)
4. ____ H4 ง. แร่ทัลก์ (talc)
5. ____ H5 จ. แร่เฟลด์สปำร์ (feldspar)
6. ____ H6 ฉ. แร่ฟลูออไรท์ (fluorite)
7. ____ H7 ช. แร่คอรันดัม (corundum)
8. ____ H8 ซ. แร่โทแพซ (topaz)
9. ____ H9 ฌ. แร่ควอตซ์ (quartz)
10. ____ H10 ญ. แร่ยิปซั่ม (gypsum)

29
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

2) แบบฝึกหัดถูก-ผิด
คาอธิบาย : เติมเครื่องหมำย T หน้ำข้อควำมที่กล่ำวถูก หรือเติมเครื่องหมำย F
หน้ำข้อควำมที่กล่ำวผิด

1. ____ เพชรพบเฉพำะในทวีปแอฟริกำใต้เท่ำนั้น
2. ____ แร่ (mineral) ประกอบด้วย สารประกอบ (compound)
3. ____ หมวดแร่ ซิ ลิ เ กต (silicate class) ทั้ ง หมดประกอบด้ ว ยธำตุ
ซิลิกอน-ออกซิเจนที่จับตัวกันในหลำยรูปแบบ
4. ____ โดยคำจำกัดควำม น้ำเป็นแร่ชนิดหนึ่ง
5. ____ โดยคำจำกัดควำม ปิโตรเลียมเป็นแร่ชนิดหนึ่ง
6. ____ โดยคำจำกัดควำม ถ่ำนหินเป็นแร่ชนิดหนึ่ง
7. ____ เพชร (diamond) เกิดจำกธำตุคำร์บอนที่อยู่ในสถำนะควำมดันสูง
มำกในระดับลึกภำยในโลก
8. ____ อะตอมสำมำรถให้และรับนิวตรอนได้
9. ____ อะตอมสำมำรถให้และรับอิเล็กตรอนได้
10. ____ แร่บำงชนิดสำมำรถขูดขีดด้วยเล็บได้
11. ____ ธำตุที่พบมำกที่สุดในแผ่นเปลือกโลกคือ ธำตุคำร์บอน
12. ____ ความแข็ง (hardness) คือควำมต้ำนทำนของวัสดุต่อกำรแตกหัก
หรือถูกขูดขีด
13. ____ ความหนาแน่น (density) สะท้อนถึงน้ำหนักและกำรจัดเรียงตัว
ของอะตอมในแร่
14. ____ สำรประกอบทั้งหมดมีโครงสร้ำงผลึก

30
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

15. ____
เกลือในทำงธรณีวิทยำคือ แร่เฮไรต์ (halite)
16. ____
แร่ทั้งหมดแสดงคุณสมบัติ ความแข็ง (hardness)
17. ____
แร่ทั้งหมดแสดงคุณสมบัติ รอยแยก (fracture)
18. ____
แร่แคลไซต์ (calcite) สำมำรถขูดขีดแก้วเป็นรอยได้
19. ____
หมวดแร่ซิ ลิ เกต (silicate class) เป็ น แร่ป ระกอบหิ น (rock-
forming mineral)
20. ____ เพชร (diamond) และ แกรไฟต์ (graphite) คือ พหุ สั ณ ฐาน
(polymorph) ของธำตุซิลิกอนบริสุทธิ์

3) แบบฝึกหัดปรนัย
ค าอธิ บ าย : ท ำเครื่อ งหมำย X หน้ ำ ค ำตอบที่ ถู ก ต้ อ งที่ สุ ด เพี ย งข้ อ เดี ย ว จำก
ตัวเลือกที่กำหนดให้

1. ข้อใด ไม่ใช่ พันธะยึดเหนี่ยวอะตอม


ก. โควำเลนต์ (covalent) ข. อินทรีย์ (organic)
ค. โลหะ (metallic) ง. ไอออนิก (ionic)
2. อะตอมของธำตุใดที่อยู่ร่วมกับธำตุอื่นๆ ได้มำกที่สุด
ก. ออกซิเจน ข. ซิลิกอน (silicon)
ค. คลอรีน (chlorine) ง. ซัลเฟอร์ (sulfur)
3. ข้อใดคือพันธะยึดเหนี่ยวอะตอมของไม้ พลำสติกหรือคน
ก. โควำเลนต์ (covalent) ข. อินทรีย์ (organic)
ค. โลหะ (metallic) ง. ไอออนิก (ionic)

31
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

4. ข้อใดคือพันธะยึดเหนี่ยวอะตอมของของแร่
ก. โควำเลนต์ (covalent) ข. อินทรีย์ (organic)
ค. โลหะ (metallic) ง. ไอออนิก (ionic)
5. ธำตุใดที่โดยส่วนใหญ่มีประจุลบในแผ่นเปลือกโลก
ก. ออกซิเจน (oxigen) ข. ธำตุเหล็ก (iron)
ค. ซิลิกอน (silicon) ง. ซัลเฟอร์ (sulfur)
6. ธำตุใดที่โดยส่วนใหญ่มีประจุบวกในแผ่นเปลือกโลก
ก. ออกซิเจน (oxigen) ข. ธำตุเหล็ก (iron)
ค. ซิลิกอน (silicon) ง. ซัลเฟอร์ (sulfur)
7. ข้อใดสื่อถึงน้ำหนักของธำตุ
ก. จำนวนโปรตอน ข. จำนวนอิเล็กตรอน
ค. จำนวนนิวตรอน ง. จำนวนโปรตอนรวมกับนิวตรอน
8. ข้อใดเปลี่ยนแปลงได้ง่ำยกับปฏิกิริยำทำงเคมี
ก. จำนวนโปรตอน ข. จำนวนอิเล็กตรอน
ค. จำนวนนิวตรอน ง. จำนวนโปรตอนรวมกับนิวตรอน
9. ไอโซโทป (isotope) ของธำตุมีควำมแตกต่ำงกันอย่ำงไร
ก. จำนวนโปรตอน ข. จำนวนอิเล็กตรอน
ค. จำนวนนิวตรอน ง. จำนวนโปรตอนรวมกับนิวตรอน
10. ข้อใดคือแร่ที่พบมำกที่สุดในห้องครัว
ก. แป้ง (flour) ข. เฮไรต์ (halite)
ค. น้ำตำล (sugar) ง. มัสตำด (mustard)

32
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

11. เหตุใด ปิโตรเลียม (petroleum) จึงไม่จัดอยู่ในกลุ่มของ แร่ (mineral)


ก. องค์ประกอบทำงเคมีไม่ชัดเจน ข. ไม่ใช่ของแข็ง
ค. ไม่มีโครงสร้ำงผลึก ง. ถูกทุกข้อ
12. ข้อใดคือคุณสมบัติทำงกำยภำพของแร่
ก. ควำมมันวำว (luster) ข. สีผง (streak)
ค. ควำมแข็ง (hardness) ง. ถูกทุกข้อ
13. ข้อใดกล่ำวผิดเกี่ยวกับ รอยแตกเรียบ (cleavage)
ก. แร่ บ ำงชนิ ดมี ร อยแตก > 1 ข. แร่โดยส่วนใหญ่เกิดรอยแตกได้
ระนำบ ง่ำย
ค. ระนำบรอยแตกสะท้อนแสงได้ดี ง. แร่แตกหักง่ำยตำมรอยแตก
14. อะตอมที่มีประจุบวกหรือประจุลบเรียกว่ำอะไร
ก. กัมมันตภำพรังสี ข. ไอออน
ค. ธำตุ ง. ไอโซโทป
15. คุณสมบัติใดสัมพันธ์กับระนำบที่เปรำะบำงระหว่ำงอะตอมในแร่
ก. ควำมแข็ง (hardness) ข. รอยแยก (fracture)
ค. ควำมหนำแน่น (density) ง. รอยแตกเรียบ (cleavage)
16. ข้อใดสัมพันธ์กับควำมแข็งแรงของพันธะยึดเหนี่ยวระหว่ำงอะตอมของแร่
ก. ควำมแข็ง (hardness) ข. รอยแยก (fracture)
ค. ควำมหนำแน่น (density) ง. รอยแตกเรียบ (cleavage)
17. คุณสมบัติใดที่น่ำเชื่อถือน้อยที่สุดในกำรจำแนกชนิดของแร่
ก. ควำมแข็ง (hardness) ข. สี (color)
ค. ควำมหนำแน่น (density) ง. รอยแตกเรียบ (cleavage)

33
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

18. แร่กลุ่มใดพบมำกที่สุดในแผ่นเปลือกโลก
ก. กลุ่มแร่ออกไซด์ ข. กลุ่มแร่คำร์บอเนต
(oxide group) (carbonate group)
ค. หมวดแร่ซิลิเกต ง. กลุ่มแร่ซัลไฟต์
(silicate class) (sulfide group)
19. แร่ประกอบหิน (rock-forming mineral) ที่สำคัญได้แก่แร่ชนิดใดบ้ำง
ก. ไพไรต์ เฮไรต์ ยิปซั่ม ข. ควอตซ์ เฟลด์สปำร์ ไมกำ
ค. เหล็ก อีวำพอไรท์ แคลไซต์ ง. ถูกทุกข้อ
20. พั น ธะยึ ดเหนี่ ยวอะตอมที่ ใช้ อิเล็กตรอนร่วมกัน กับ อะตอมข้ำงเคียงเรียกว่ ำ
พันธะอะไร
ก. โควำเลนต์ (covalent) ข. อินทรีย์ (organic)
ค. โลหะ (metallic) ง. ไอออนิก (ionic)
21. ข้อใดกล่ำวถูกเกี่ยวกับ ควำมหนำแน่นของแร่
ก. น้ำหนัก/ปริมำตร ข. น้ำหนักเมื่อเปรียบเทียบกับน้ำ
ค. ข้อ ก. และ ข. ถูก ง. ไม่มีข้อใดถูก
22. ข้อใดคืออัญมณี (gemstone) ที่อยู่ในกลุ่มแร่ออกไซด์ของธำตุอะลูมินัม
ก. แร่โทแพซ (topaz) ข. แซฟไฟร์ (sapphire)
ค. เพชร (diamond) ง. ถูกทุกข้อ
23. ข้อใดกล่ำวถูกเกี่ยวกับ แร่ไพไรต์ (pyrite)
ก. เป็นหมวดแร่ซิลิเกต ข. ละลำยน้ำได้
ค. เป็นสินแร่เหล็กที่สำคัญ ง. ไม่มีข้อใดถูก

34
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

24. แร่ถูกจำแนกบนพื้นฐำนของอะไร
ก. อะตอมประจุลบ (anion) ข. ควำมเข้มข้นของโลหะ
ค. อะตอมประจุบวก (cation) ง. ควำมเข้มข้นของออกซิเจน
25. กลุ่มแร่ชนิดใดละลำยน้ำได้
ก. ซิลิเกต (silicate class) ข. เฮไลด์ (halide group)
ค. ซัลไฟต์ (sulfide group) ง. ออกไซด์ (oxide group)
26. แร่ชนิดมีองค์ประกอบสำคัญเป็นธำตุเหล็ก
ก. แร่เฟลด์สปำร์ (feldspar) ข. แร่ฮีมำไทต์ (hematite)
ค. แร่ควอตซ์ (quartz) ง. แร่ยิปซั่ม (gypsum)
27. กลุ่มแร่ชนิดใดเป็นแหล่งกำเนิดของฝนกรด (acid rain)
ก. ซัลเฟต (sulfate group) ข. ไนเตรต (nitrates group)
ค. ซัลไฟต์ (sulfide group) ง. ซิลิเกต (silicate class)
28. ปัจจัยใดที่ส่งผลต่อสีที่แตกต่ำงกันของแร่
ก. กำรผุพัง (weathering) ข. กำรปนเปื้อนทำงเคมี
(chemical impurity)
ค. กำรเคลือบพื้นผิว (coating) ง. ถูกทุกข้อ
29. หินปูน (limestone) และหินโดโลไมต์ (dolomite) เกิดจำกกลุ่มแร่ชนิดใด
ก. ซิลิเกต (silicate class) ข. ซัลเฟต (sulfate group)
ค. คำร์บอเนต (carbonate group) ง. ออกไซด์ (oxide group)
30. แร่ชนิดใดสำมำรถแตกออกเป็นแผ่นได้ง่ำย
ก. แร่ไมกำ (mica) ข. แร่ควอตซ์ (quartz)
ค. แร่เฮไรต์ (halite) ง. แร่แคลไซต์ (calcite)

35
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

31. กลุ่มแร่ชนิดใดมีคุณสมบัติวำวแสง มีน้ำหนัก รอยแตกชัดเจนและละลำยน้ำได้


ก. ซิลิเกต (silicate class) ข. เฮไลด์ (halide group)
ค. คำร์บอเนต (carbonate group) ง. ออกไซด์ (oxide group)
32. กลุ่มแร่ชนิดใดที่มีควำมแข็งสูงที่สุด
ก. ซิลิเกต (silicate class) ข. ซัลเฟต (sulfate group)
ค. คำร์บอเนต (carbonate group) ง. เฮไลด์ (halide group)
33. ทองคา (gold) เพชร (diamond) และ แกรไฟต์ (graphite) จัดอยู่ในกลุ่ม
แร่ชนิดใด
ก. ธำตุธรรมชำติ (native element) ข. ซัลเฟต (sulfate group)
ค. คำร์บอเนต (carbonate group) ง. ออกไซด์ (oxide group)
34. แร่ควอตซ์ (quartz) จัดอยู่ในหมวดแร่ซิลิเกตแบบใด
ก. สำยโซ่คู่ (double chain) ข. โครงสร้ำง (framework)
ค. สำยโซ่ (chain) ง. แผ่น (sheet)
35. แร่ไมกา (mica) จัดอยู่ในหมวดแร่ซิลิเกตแบบใด
ก. สำยโซ่คู่ (double chain) ข. โครงสร้ำง (framework)
ค. สำยโซ่ (chain) ง. แผ่น (sheet)
36. แร่ฮอนเบลนด์ (hornblende) จัดอยู่ในหมวดแร่ซิลิเกตแบบใด
ก. สำยโซ่คู่ (double chain) ข. โครงสร้ำง (framework)
ค. สำยโซ่ (chain) ง. แผ่น (sheet)
37. ข้อใดคือหมวดแร่ซิลิเกตที่สำมำรถแตกเป็นแผ่นได้ชัดเจนที่สุด
ก. แผ่น (sheet) ข. สำยโซ่ (chain)
ค. โครงสร้ำง (framework) ง. ไม่มีข้อใดถูก

36
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

38. กลุ่มแร่ชนิดใดโดยส่วนใหญ่จะมีควำมหนำแน่นสูง มีควำมเป็นโลหะ มันวำว


และมีผลึกเป็นลูกบำศก์
ก. ซัลไฟต์ (sulfide group) ข. ซัลเฟต (sulfate group)
ค. คำร์บอเนต (carbonate group) ง. ออกไซด์ (oxide group)
39. ข้อใดคือ หมวดแร่ซิลิเกตแบบสายโซ่ (tetrahedral chain)
ก. แร่ดินและไมกำ ข. แร่โอลิวีนและกำร์เนต
ค. แร่แอมฟิโบลและไพรอคซีน ง. แร่เฟลด์สปำร์
40. แร่ชนิดใดมี รอยแตกเรียบ (cleavage) น้อยที่สุด
ก. แร่ไมกำ (mica) ข. แร่เฮไรต์ (halite)
ค. แร่ควอตซ์ (quartz) ง. ถูกทุกข้อ
41. แร่โอลิวีน (olivine) จัดอยู่ในหมวดแร่ซิลิเกตชนิดใด
ก. แผ่น (sheet) ข. สำยโซ่ (chain)
ค. โครงสร้ำง (framework) ง. ไม่มีข้อใดถูก
42. แร่ชนิดใดมีควำมแข็ง (hardness) ต่ำที่สุด
ก. แร่เฟลด์สปำร์ (feldspar) ข. แร่ยิปซั่ม (gypsum)
ค. แร่แคลไซต์ (calcite) ง. แร่โทแพซ (topaz)
43. กำรแตกของแร่ไปเป็นแนวทำงเดียวกันอย่ำงเป็นระบบเรียกว่ำอะไร
ก. ควำมแข็งเปรำะ (brittleness) ข. รอยแยก (fracture)
ค. ควำมแข็ง (hardness) ง. ไม่มีข้อใดถูก
44. ข้อใดคืออะตอมสูญเสียอิเล็กตรอนไป
ก. ไอโซโทป (isotope) ข. ธำตุธรรมชำติ (native element)
ค. นิวตรอน (neutron) ง. ไอออน (ion)

37
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

45. กลุ่มแร่ชนิดใดสำมำรถเกิด รอยแตกเรียบ (cleavage) โดดเด่นที่สุด


ก. ซิลิเกต (silicate class) ข. คำร์บอเนต (carbonate group)
ค. ซัลไฟต์ (sulfide group) ง. ถูกทุกข้อ
46. ข้อใดคือธำตุมีมีมำกที่สุดในแผ่นเปลือกโลก
ก. เหล็กและแมกนีเซียม ข. ทรำยและดิน
ค. ซิลิกอนและออกซิเจน ง. โซเดียมและไนโตรเจน
47. แร่ แ อมฟิ โบล (amphibole) และ แร่ ไ พรอคซี น (pyroxene) จั ด อยู่ ใน
หมวดแร่ซิลิเกตแบบใด
ก. สำยโซ่คู่ (double chain) ข. โครงสร้ำง (framework)
ค. สำยโซ่ (chain) ง. แผ่น (sheet)
48. ข้อใดคือ หมวดแร่ซิลิเกตแผ่น (sheet silicate)
ก. แร่ไมกำและแร่ดิน ข. แร่เฟลด์สปำร์และแร่ควอตซ์
ค. แร่ไพรอคซีนและแร่แอมฟิโบล ง. แร่โอลิวีนและแร่เฟลด์สปำร์
49. ข้อใดคือคุณสมบัติที่นักวิทยำศำสตร์ใช้คัดแยกแร่ทองคำออกจำกวัสดุอื่น
ก. ควำมแข็ง (hardness) ข. รอยแยก (fracture)
ค. ควำมหนำแน่น (density) ง. รอยแตกเรียบ (cleavage)
50. ธำตุใดคือ 1 ใน 8 ของธำตุที่พบมำกในแผ่นเปลือกโลก
ก. ธำตุเหล็ก (iron) ข. ธำตุแคลเซียม (calcium)
ค. ธำตุโซเดียม (Na) ง. ถูกทุกข้อ
51. อัญมณีโดยส่วนใหญ่ (ยกเว้นเพชร) จัดอยู่ในกลุ่มแร่ชนิดใด
ก. ซิลิเกตและออกไซด์ ข. ซัลเฟตและคำร์บอเนต
ค. ซัลเฟตและธำตุธรรมชำติ ง. ซัลไฟต์และออกไซด์

38
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

52. คุณสมบัติใดสัมพันธ์โดยตรงกับควำมใกล้ชิดของอะตอมในแร่
ก. ควำมแข็ง (hardness) ข. รอยแยก (fracture)
ค. ควำมหนำแน่น (density) ง. รอยแตกเรียบ (cleavage)
53. อะตอมจะกลำยเป็นไอออนเมื่อใด
ก. ได้รับหรือสูญเสียมวล ข. ได้รับหรือสูญเสียโปรตอน
ค. ได้รับหรือสูญเสียนิวตรอน ง. ได้รับหรือสูญเสียอิเล็กตรอน
54. ข้อใดคือปัจจัยสำคัญที่ควบคุมควำมแตกต่ำงของเนื้อหิน
ก. องค์ประกอบแมกมำตั้งต้น ข. อัตรำของกำรเย็นตัวแมกมำ
ค. ปริมำณแมกมำ ง. ควำมดันแมกมำ
55. นอกเหนื อ จำกหมวดแร่ ซิ ลิ เกต (silicate class) กลุ่ ม แร่ ช นิ ด ใดเป็ น แร่
ประกอบหิน (rock-forming mineral) ที่สำคัญ
ก. ออกไซด์ (oxide group) ข. ซัลเฟต (sulfate group)
ค. คำร์บอเนต (carbonate group) ง. ถูกทุกข้อ
56. อัตรำส่วนระหว่ำงน้ำหนักแร่และน้ำในปริมำตรเท่ำกันหมำยถึงข้อใด
ก. ควำมถ่วงจำเพำะ (specific gravity) ข. รอยแตกเรียบ (cleavage)
ค. มวลอะตอม (atomic mass) ง. ควำมแข็ง (hardness)
57. กลุ่มแร่ชนิดใดพบมำกที่สุดในแผ่นเปลือกโลก
ก. ออกไซด์ (oxide group) ข. ซิลิเกต (silicate class)
ค. เฮไลด์ (halide group) ง. ซัลเฟต (sulfate group)
58. แร่ชนิดใดพบมำกที่สุดบนโลก
ก. แร่ฮีมำไทต์ (hematite) ข. แร่แอมฟิโบล (amphibole)
ค. แร่แคลไซต์ (calcite) ง. แร่ควอตซ์ (quartz)

39
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

59. แร่โดยส่วนใหญ่เกิดจำกกำรรวมกันของธำตุด้วยพันธะยึดเหนี่ยวแบบใด
ก. ไอออนิก (ionic) ข. โควำเลนต์ (covalent)
ค. โลหะ (metallic) ง. ถูกทุกข้อ
60. ข้อใดคือกลุ่ม แร่ประกอบหิน (rock forming mineral) ที่พบมำกที่สุดใน
แผ่นเปลือกโลก
ก. แร่แคลไซต์ (calcite) ข. แร่เฟลด์สปำร์ (feldspar)
ค. แร่ควอตซ์ (quartz) ง. แร่ดิน (clay)
61. ข้อใดคือแนวโน้มกำรแตกตำมแนวระนำบอย่ำงเป็นระบบของแร่
ก. กำรตกผลึก (crystallization) ข. รอยแตกเรียบ (cleavage)
ค. รอยแยก (fracture) ง. กำรผุพัง (weathering)
62. ข้อใดคือพันธะยึดเหนี่ยวอะตอมของเครื่องบินไอพ่น
ก. โควำเลนต์ (covalent) ข. อินทรีย์ (organic)
ค. โลหะ (metallic) ง. ไอออนิก (ionic)
63. คุณสมบัติใดที่ทำให้ผลึกเกลือแตกเป็นเม็ดเล็กๆ ได้ง่ำย
ก. ควำมแข็ง (hardness) ข. รอยแยก (fracture)
ค. ควำมหนำแน่น (density) ง. รอยแตกเรียบ (cleavage)
64. คุณสมบัติใดที่ส่งผลต่อกำรผุพัง (weathering) ของแร่น้อยที่สุด
ก. ควำมแข็ง (hardness) ข. รอยแยก (fracture)
ค. ควำมหนำแน่น (density) ง. สี (color)
65. ความแข็ง (hardness) หมำยถึงอะไร
ก. ควำมต้ำนทำนกำรแปรสภำพทำงเคมี ข. ควำมยำกในกำรแตกหัก
ค. ควำมต้ำนทำนต่อกำรขูดขีด ง. ควำมหยำบ

40
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

66. ข้อใดคืออัญมณีที่เป็น กลุ่มแร่ออกไซด์ (oxide group) ของ ธาตุอะลูมินัม


(aluminum)
ก. แร่โทแพซ (topaz) ข. ทับทิม (ruby)
ค. เพชร (diamond) ง. เพทำย (zircon)
67. ข้อใดคือคุณสมบัติที่ทำให้ แร่ควอตซ์ (quartz) แตกหักไปตำมแนวพื้นผิวที่
รำบเรียบ
ก. ควำมแข็ง (hardness) ข. รอยแยก (fracture)
ค. ควำมหนำแน่น (density) ง. รอยแตกเรียบ (cleavage)
68. กลุ่มแร่ชนิดใดพบมำกที่สุดในธรรมชำติ
ก. ซิลิเกต (silicate class) ข. ซัลเฟต (sulfate group)
ค. คำร์บอเนต (carbonate group) ง. ออกไซด์ (oxide group)
69. กลุ่มแร่ชนิดใดที่มี รอยแตกเรียบ (cleavage) ชัดเจนและหยดกรดฟู่เป็นฟอง
ก. ซิลิเกต (silicate class) ข. ซัลเฟต (sulfate group)
ค. คำร์บอเนต (carbonate group) ง. ออกไซด์ (oxide group)
70. ข้อใดคือคุณสมบัติของแร่ควอตซ์ (quartz)
ก. สำมำรถขูดขีดแก้วได้ ข. ละลำยได้ในกรด
ค. มีรอยแตกเรียบชัดเจน ง. หนำแน่น 5 กรัม/ตร.ซม.

41
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

เฉลยแบบฝึกหัด
1) แบบฝึกหัดจับคู่
1. ง 2. ญ 3. ก 4. ฉ 5. ข
6. จ 7. ฌ 8. ซ 9. ช 10. ค

2) แบบฝึกหัดถูก-ผิด
1. F 2. F 3. T 4. F 5. F
6. F 7. T 8. T 9. T 10. T
11. F 12. T 13. T 14. F 15. T
16. T 17. T 18. F 19. T 20. F

3) แบบฝึกหัดปรนัย
1. ข 2. ก 3. ก 4. ง 5. ก
6. ค 7. ง 8. ข 9. ก 10. ข
11. ง 12. ง 13. ข 14. ข 15. ง
16. ก 17. ข 18. ค 19. ข 20. ก
21. ค 22. ข 23. ง 24. ก 25. ข
26. ข 27. ค 28. ง 29. ค 30. ก
31. ข 32. ก 33. ก 34. ข 35. ง
36. ก 37. ข 38. ก 39. ค 40. ค

42
สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

41. ง 42. ค 43. ง 44. ง 45. ข


46. ข 47. ค 48. ก 49. ค 50. ง
51. ง 52. ก 53. ค 54. ง 55. ค
56. ก 57. ข 58. ง 59. ก 60. ง
61. ข 62. ค 63. ง 64. ค 65. ค
66. ข 67. ง 68. ก 69. ค 70. ก

43

You might also like