You are on page 1of 66

ชีววิทยา เล่ม 2

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 หน่วยการเรียนรู้ที่ 9

Slide PowerPoint_สื่อประกอบการสอน

บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200


Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand
โทร./แฟกซ์. : 0 2622 2999 (อัตโนมัติ 20 คู่สำย) webmaster@aksorn.com / www.aksorn.com
6
หน่วยการเรียนรู้ที่

ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

ผลการเรียนรู้

• อภิปรำยควำมสำคัญของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ และควำมเชื่อมโยงระหว่ำงควำมหลำกหำยทำงพันธุกรรม ควำมหลำกหลำยของสปีชีส์ และควำมหลำกหลำยของ


ระบบนิเวศ
• อธิบำยกำรเกิดเซลล์เริ่มแรกของสิ่งมีชีวิต และวิวัฒนำกำรของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
• อธิบำยลักษณะสำคัญ และยกตัวอย่ำงสิ่งมีชีวิตกลุ่มแบคทีเรีย สิ่งมีชีวิตกลุ่มโพรทิสต์ สิ่งมีชีวิตกลุ่มพืช สิ่งมีชีวิตกลุ่มฟังไจ และสิ่งมีชีวิตกลุ่มสัตว์
• อธิบำย และยกตัวอย่ำงกำรจำแนกสิ่งมีชีวิตจำกหมวดหมู่ใหญ่จนถึงย่อย และวิธีกำรเขียนชื่อวิทยำศำสตร์ในลำดับขั้นสปีชีส์
• สร้ำงไดโคโทมัสคีย์ในกำรระบุสิ่งมีชีวิตหรือตัวอย่ำงที่กำหนดออกเป็นหมวดหมู่
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
เพราะเหตุใดมนุษย์จึงไม่ใช่สิ่งมีชีวิต
เพียงชนิดเดียวที่อาศัยอยู่บนโลก
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ (biodiversity)
หมำยถึง การมีสปีชีส์ (species) หลากหลายชนิดมาอยู่ร่วมกัน ณ สถานที่หนึ่งหรือระบบนิเวศใดระบบนิเวศหนึ่ง

ความหลากหลายทางพันธุกรรม ความหลากหลายของสปีชีส์ ความหลากหลายของระบบนิเวศ


เป็นควำมหลำกหลำยที่เกิดขึ้นภำยใน ควำมหลำกหลำยของสปีชีส์ (species) หรือ ควำมแตกต่ำงกันของระบบที่ทำให้สิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน ซึ่งเป็นผลมำจำกควำม จำนวนชนิดของสิ่งมีชีวิตภำยในพื้นทีอ่ ำศัย ที่อำศัยอยู่ในสภำพแวดล้อมแตกต่ำงกัน
แปรผันทำงพันธุกรรม ทำให้สิ่งมีชีวิตชนิด ที่แตกต่ำงกัน มีลักษณะที่ต่ำงกัน
เดียวกันมีลักษณะแตกต่ำงกัน
การศึกษาความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ตารางธรณีกาล (the geologic time scale)
การศึกษาความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต

1 ซากดึกดาบรรพ์ 2 กายวิภาคเปรียบเทียบ 5 ชีวภูมิศาสตร์


โครงสร้ำงแบบฮอมอโลกัส โครงสร้ำงแบบแอนะโลกัส

3 วิทยาเอ็มบริโอเปรียบเทียบ 4 ชีวโมเลกุลระดับโมเลกุล
ปลา เต่า ไก่ มนุษย์

ช่องเหงือก หำง
นกฟินช์มีกำรปรับตัวเข้ำกับที่อยู่อำศัย
เมื่อเวลำผ่ำนไป ค่อย ๆ เกิดวิวัฒนำกำร
กลำยเป็นนกฟินช์ชนิดใหม่ที่มคี วำมจำเพำะ
ในแต่ละพื้นที่
การศึกษาความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ชื่อสิ่งมีชีวิต

ชื่อวิทยาศาสตร์ตามหลักทวินาม (binomial nomenclature)


• ประกอบด้วย
- ส่วนแรก ชื่อสกุล (Genus)
- ส่วนที่สอง ชื่อระบุสปีชีส์ (specific epithet)

• วิธีการเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
- เขียนด้วยภำษำละติน
- ชื่อสกุลต้องขึ้นต้นด้วยอักษรพิมพ์ใหญ่ ส่วนชื่อระบุสปีชีส์ใช้ตัวอักษรพิมพ์เล็ก
คาโรลัส ลินเนียส - เขียนให้ต่ำงจำกตัวอักษรอื่น ๆ โดยอำจใช้ตัวเอียงหรือขีดเส้นใต้
- แยกระหว่ำงชื่อสกุลกับชื่อสปีชีส์
(Carolus Linnaeus)
การศึกษาความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต การระบุชนิดของสิ่งมีชีวิต
กำรระบุและตรวจสอบชนิด (identification) ของสิ่งมีชีวิตนิยมใช้ไดโคโตมัสคีย์ (dichotomous key)
โดยพิจำรณำควำมแตกต่ำงของลักษณะทีละลักษณะเป็นคู่ ๆ

ปีกมีสีเดียว
ตัวอย่างไดโคโตมัสคีย์ของแมลง หนวด 1 คู่
1 ก ปีกแข็ง …………………………………….. ดูข้อ 2 ปีกมีลำยจุด
1 ข ปีกไม่แข็ง …………………………………. ดูข้อ 3 ปีกแข็ง
2 ก มีหนวด 1 คู่ ……………………………… ดูข้อ 4
ไม่มีหนวด
2 ข ไม่มีหนวด ……………………………….... ด้วง
3 ก ปีกมีชั้นเดียว …………………………….. ดูข้อ 5
แมลง
3 ข ปีกมี 2 ชั้น ………………………………... จิ้งหรีด
ปีกมี 2 ชั้น
4 ก ปีกมีสเี ดียว ……………………………….. แมลงทับ ปีกไม่แข็ง ปีกโปร่งแสง
4 ข ปีกมีลำยจุด ………………………………. แมลงเต่ำทอง
5 ก ปีกโปร่งแสง ………………………………. แมลงปอ ปีกมีชั้นเดียว
ปีกทึบแสง
5 ข ปีกทึบแสง …………………………………. ผีเสื้อ
กาเนิดของสิ่งมีชีวิต กาเนิดสิ่งมีชีวิตตามแนวคิดของโอปาริน
1 2 3 4

น้ำตำล กรดอะมิโน พอลิแซ็กคำไรด์ ลิพิด เซลล์แรกเริ่ม


กรดไขมัน กลีเซอรอล โปรตีน กรดนิวคลีอิก

บรรยำกำศของโลกในช่วงแรก อนุภำคต่ำงๆ รวมตัวกันเป็นโมเลกุล เกิดโมเลกุลที่ซับซ้อน ปรำกฏเซลล์แรกเริ่มของสิ่งมีชีวิต


ประกอบด้วยแก๊สแอมโมเนีย (NH3 ) ของน้ำตำล กรดอะมิโน กรดไขมัน ของพอลิแซ็กคำไรด์ลิพิด โปรตีน
แก๊สไฮโดรเจน (H2 ) แก๊สมีเทน และกลีเซอรอล และกรดนิวคลีอิก
(CH4 ) และไอน้ำ (H2 O)
กาเนิดของสิ่งมีชีวิต การทดลองของสแตนลีย์ มิลเลอร์

1 ให้ควำมร้อนจนน้ำเดือดกลำยเป็นไอ
3

ประจุไฟฟ้า 2 ไอน้ำเคลื่อนที่ไปตำมหลอดทดลอง
CH4 NH3 H2 H2 O 4
2 ส่วนที่เปรียบได้กับชั้นบรรยำกำศ ประกอบ
3
ไปด้วย CH4 NH3 H2 H2 O
บริเวณควบแน่น 5
น้าเย็นเข้า จำลองกำรเกิดฟ้ำแลบ และฟ้ำผ่ำ โดยให้แก๊ส
4
น้าเย็นออก ทำปฏิกิริยำผ่ำนประจุไฟฟ้ำ

น้า 5 ควบแน่นไอน้ำที่ได้จำกกำรทดลอง
1
6
6 นำน้ำไปตรวจสอบ พบว่ำมีกรดอะมิโนเจือปนอยู่
สารโมเลกุล
กาเนิดของสิ่งมีชีวิต กาเนิดเซลล์โพรคาริโอต

• จำกหลักฐำนซำกดึกดำบรรพ์ที่มีอำยุเก่ำแก่ที่สุด (ประมำณ 3,500 ล้ำนปีก่อน)


พบว่ำสิ่งมีชีวิตที่วิวัฒนำกำรมำจำกเซลล์แรกเริ่ม ได้แก่ แบคทีเรีย ซึ่งมีลักษณะ
เป็นเซลล์โพรคาริโอต (prokaryotic cell) โดยแบคทีเรียบำงพวก (ไซยำโน
แบคทีเรีย) สำมำรถสังเครำะห์ด้วยแสงได้ทำให้ปริมำณแก๊สออกซิเจนใน
บรรยำกำศเพิ่มขึ้น ซึ่งเอื้อต่อวิวัฒนำกำรของสิ่งมีชีวิตมำเป็นพวกเซลล์ยูคำริโอต

ลักษณะของเซลล์โพรคาริโอต
• ไม่มีนิวเคลียสแท้ เนื่องจำกไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส
• สำรพันธุกรรมอยู่ในบริเวณทีเ่ รียกว่ำ นิวคลีออยด์ (nucleoid)
• ไม่มีออแกเนลล์ที่มเี ยื่อหุ้ม
กาเนิดของสิ่งมีชีวิต กาเนิดเซลล์ยูคาริโอต
1 เยื่อหุ้มเซลล์โพรคำริโอตเกิดกำรม้วนพับเข้ำไปภำยในเซลล์
1
นิวเคลียส
เยื่อหุ้มเซลล์ที่ม้วนพับเข้ำไปกลำยเป็นเอนโดพลำสมิกเรติคิวลัม และ
2 2
t เยื่อหุ้มนิวเคลียส
t
3
เซลล์ โพรคำริโอตขนำดใหญ่รับเอำแบคทีเรียที่เจริญได้ดีในที่ที่มี
t 3
แก๊สออกซิเจนเข้ำสู่เซลล์
ไมโทรคอนเดรีย
4 แบคทีเรียที่เจริญได้ดีในที่ที่มีแก๊สออกซิเจนกลำยเป็นไมโทคอนเดรีย
5 4
ทำหน้ำที่สร้ำงพลังงำนให้กับเซลล์

เซลล์ยูคำริโอตแรกเริ่มที่ไม่สำมำรถสร้ำงอำหำรได้เองรับเอำแบคทีเรีย
6 5
คลอโรพลาสต์ ที่สังเครำะห์ด้วยแสงได้เข้ำสู่เซลล์

แบคทีเรียที่สังเครำะห์ด้วยแสงได้กลำยเป็นคลอโรพลำสต์ ทำหน้ำที่
6
ในกระบวนกำรสังเครำะห์ด้วยแสง
อาณาจักรมอเนอรา
สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรมอเนอรา หรือพวกแบคทีเรียมีลักษณะเป็นเซลล์แบบ
โพรคาริโอต (prokaryotic cell)
เดิมสิ่งมีชีวิตเหล่านี้ถูกจัดอยู่ในกลุ่มเดียว
แต่ในปัจจุบันจากหลักฐานทางชีวโมเลกุลและรูปแบบในการดารงชีวิต
ทาให้ให้นักอนุกรมวิธานจัดสิ่งมีชีวิตในกลุ่มนี้ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
อาร์เคียแบคทีเรีย (Archaebacteria) และกลุ่มยูแบคทีเรีย (Eubacteria)
อาณาจักรมอเนอรา ลักษณะและรูปร่างของแบคทีเรีย
แบคทีเรียเป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวจำพวกโพรคำริโอต (prokaryotic cell) ซึ่งมีลักษณะ ดังนี้
• ไม่มีนิวเคลียสแท้ เนื่องจำกไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส
• สำรพันธุกรรมมีอยู่ในบริเวณทีเ่ รียกว่ำ นิวคลีออยด์ (nucleoid)
- ดีเอ็นเอที่มีลักษณะเป็นวงปิด (circular DNA)
- พลำสมิด (plasmid) ซึ่งทำให้เกิดกำรต่อต้ำนยำปฏิชีวนะ
หรือคุณสมบัติพิเศษประเภทอื่น ๆ
• ผนังเซลล์เป็นสำรประกอบพวกเพปทิโดไกลแคน (peptidoglycan)
• มีรูปร่ำง 3 แบบ ได้แก่

แบคทีเรียทรงกลม (cocus) แบคทีเรียทรงแท่ง (bacillus or rod) แบคทีเรียทรงเกลียว (spiral)


อาณาจักรมอเนอรา อาร์เคียแบคทีเรีย (Archaebacteria)
• อำร์เคียแบคทีเรียเป็นพวกที่ผนังเซลล์ไม่มีสำรเพปทิโดไกลแคน ส่วนใหญ่พบในสภำพแวดล้อมแบบ “สุดขั้ว”
(extreme environment) เช่น ที่ร้อนจัดอย่ำงบ่อน้ำพุร้อน ภูเขำไฟใต้ทะเล ที่เค็มจัดอย่ำงนำเกลือ หรือที่มี
ควำมเป็นกรดสูง แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มย่อย

ยูริอาร์เคียโอตา (Euryarchaeota) ครีนาร์เคียโอตา (Crenarchaeota)

เมทาโนค็อกคัส ซัลโฟโบลัส
(𝑀𝑒𝑡ℎ𝑎𝑛𝑜𝑐𝑜𝑐𝑐𝑢𝑠 sp. ) (𝑆𝑢𝑙𝑓𝑜𝑏𝑜𝑙𝑢𝑠 sp. )

• สำมำรถสร้ำงแก๊สมีเทนได้ methanogen • กลุ่มที่อำศัยอยู่ในบริเวณที่อุณหภูมิสูงมำกหรือต่ำมำก


• อำศัยอยู่ในบริเวณที่มีควำมเค็มจัด (halophile) (thermophile) หรือสภำพแวดล้อมที่มีควำมเป็นกรดสูง
และบริเวณที่มีสภำพไร้ออกซิเจน (acidophile)
อาณาจักรมอเนอรา ยูแบคทีเรีย (Eubacteria)
• เป็นกลุ่มที่มีจำนวนมำก และมีควำมหลำกหลำยสูง ซึ่งจำกกำรศึกษำควำมสัมพันธ์ทำงวิวัฒนำกำร นักจุลชีววิทยำจำแนก
แบคทีเรียออกเป็น 5 กลุ่ม

โพรทีโอแบคทีเรีย คลาไมเดีย สไปโรคีท แบคทีเรียแกรมบวก ไซยาโนแบคทีเรีย


(Proteobacteria) (Chlamydias) (Spirochetes) (gram − positive bacteria) (Cyanobacteria)

ไรโซเบียม คลาไมเดีย เลปโตสไปรา แลกโตบาซิลลัส แอนาบีนา


(𝑅ℎ𝑖𝑧𝑜𝑏𝑖𝑢𝑚 sp. ) (𝐶ℎ𝑙𝑎𝑚𝑦𝑑𝑖𝑎 sp. ) (𝐿𝑒𝑝𝑡𝑜𝑠𝑝𝑖𝑟𝑎 sp. ) (𝐿𝑎𝑐𝑡𝑜𝑏𝑎𝑐𝑖𝑙𝑙𝑢𝑠 sp. ) (𝐴𝑛𝑎𝑏𝑎𝑒𝑛𝑎 sp. )
อาณาจักรโพรทิสตา
สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรโพรทิสตา หรือโพรทิสต์
เป็นกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่มีความหลากหลายมาก
และมีการค้นพบสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่อยู่ตลอดเวลา
ทาให้การจาแนกโพรทิสต์ออกเป็นกลุม่ ต่าง ๆ มีข้อจากัดเป็นจานวนมาก
เนื่องจากการจัดหมวดหมู่ของโพรทิสต์มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
อาณาจักรโพรทิสตา ลักษณะของโพรทิสต์
โพรทิสต์เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวจำพวกยูคำริโอต (eukaryotic cell) ซึ่งมีลักษณะ ดังนี้

• ส่วนใหญ่เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว (unicellular) แต่บำงชนิดมีหลำยเซลล์


(multicellular)

• กำรดำรงชีวิต • กำรเคลื่อน
- ผู้ผลิต (autotroph) - ซีเลีย (cilia)
- ผู้บริโภค (𝑐𝑜𝑛𝑠𝑢𝑚𝑒𝑟) - แฟลเจลลัม (flagellum)
- ผู้ย่อยสลำย (decomposer) - เท้ำเทียม (pseudopodium)

• ไม่มีระยะตัวอ่อน (embryo)
อาณาจักรโพรทิสตา ไดโพลโมนาดิดา และพาราบาซาลา
• ส่วนใหญ่มีนิวเคลียส 2 อัน และมีแฟลเจลลัม แต่ไม่มีออแกเนลล์ขนำดใหญ่อื่น ๆ

ไดโพลโมแนด (diplomonads) พาราบาซาลิด (parabasalid)

𝐺𝑖𝑎𝑟𝑑𝑖𝑎 sp. 𝑇𝑟𝑦𝑝𝑎𝑛𝑜𝑠𝑜𝑚𝑎 sp.

• มีแฟลเจลลัม 4 คู่ • ผิวเยื่อหุ้มเซลล์คล้ำยคลื่น


อาณาจักรโพรทิสตา ยูกลีโนซัว
• เป็นกลุ่มที่มีรูปแบบกำรดำรงชีพค่อนข้ำงหลำกหลำย โดยส่วนใหญ่ดำรงชีวิตแบบอิสระ แต่บำงชนิดดำรงชีวิตแบบปรสิต
และเคลื่อนที่โดยใช้แฟลเจลลัม
ยูกลีนอยด์ (Euglenoid) คิเนโทพลาสติด (Kinetoplastid)

อำยสปอต

𝐸𝑢𝑔𝑙𝑒𝑛𝑎 sp. 𝑇𝑟𝑦𝑝𝑎𝑛𝑜𝑠𝑜𝑚𝑎 sp.

• มีแฟลเจลลัม 2 คู่ • ทำให้เกิดโรคเหงำหลับ


• มีคลอโรฟิลล์
อาณาจักรโพรทิสตา แอลวีโอลาตา
• ลักษณะร่วมของกลุ่มนี้ คือ มีช่องว่ำงขนำดเล็กใต้เยื่อหุ้มเซลล์ เรียกว่ำ แอลวีโอไล (alveoli)

ไดโนแฟลเจลเลต เอพิคอมเพลซา ซิลิเอต


(dinoflagellate) (Apicomplexa) (Ciliates)

(𝐺𝑦𝑚𝑛𝑜𝑑𝑖𝑛𝑖𝑢𝑚 sp. ) (𝑃𝑙𝑎𝑠𝑚𝑜𝑑𝑖𝑢𝑚 𝑓𝑎𝑙𝑐𝑖𝑝𝑎𝑟𝑢𝑚) (𝑃𝑎𝑟𝑎𝑚𝑒𝑐𝑖𝑢𝑚 sp. )

• มีแฟลเจลลัม 2 เส้น • ดำรงชีวิตเป็นปรสิต • ใช้ซีเลียในกำรเคลื่อนที่และกินอำหำร


• ทำให้เกิดปรำกฏกำรณ์ขี้ปลำวำฬ • ก่อให้เกิดโรคมำลำเรีย • มีนวิ เคลียส 2 นิวเคลียสที่มีขนำดแตกต่ำงกัน
อาณาจักรโพรทิสตา สตรามีโนไพลส์
• สาหร่ายหรือแอลจี (algae) เป็นพวกที่สำมำรถสังเครำะห์ด้วยแสงได้ ลักษณะเด่นของกลุ่มนี้ คือ เซลล์สืบพันธุ์มี
แฟลเจลลำ 2 เส้น โดยเส้นหนึ่งมีขนและอีกเส้นไม่มีขน
สาหร่ายสีน้าตาล (brown algae) ไดอะตอม (diatom)

• สำหร่ำยทะเลขนำดใหญ่ • สำหร่ำยเซลล์เดียว
• มีสีน้ำตำล เพรำะมีรงควัตถุสีน้ำตำล เรียกว่ำ ฟิวโคแซนทีน • เป็นผู้ผลิตสำคัญในทะเล
อาณาจักรโพรทิสตา โรโดไฟตา
• สาหร่ายสีแดง (red algae) เพรำะมีรงควัตถุ เรียกว่ำ ไฟโคอีรีทริน
• ไม่มีระยะแฟลเจลลัมในวงชีวิต
สาหร่ายผมนาง (𝐺𝑟𝑎𝑐𝑖𝑙𝑎𝑟𝑖𝑎 sp. )

สาหร่ายโนริหรือจีฉ่าย (𝑃𝑜𝑟𝑝ℎ𝑦𝑟𝑎 sp. )


อาณาจักรโพรทิสตา สาหร่ายสีเขียว
• สาหร่ายสีเขียว (green algae) มีควำมสัมพันธ์ใกล้ชิดกับพืชมำก ทั้งในแง่โครงสร้ำง ผนังเซลล์ที่เป็นสำรประกอบ
ประเภทเซลลูโลส และรงควัตถุภำยใน

คลอโรไฟต์ (chlorophyte) คลาโรไฟต์


• พบในแหล่งน้ำจืด (charophyte)
• มีรงควัตถุคล้ำยกับในพืช

𝑆𝑝𝑖𝑟𝑜𝑔𝑦𝑟𝑎 sp.

𝐶ℎ𝑎𝑟𝑎 sp.

𝑉𝑜𝑙𝑣𝑜𝑥 sp. • สำหร่ำยไฟ


• ควำมสัมพันธ์ใกล้ชิดกับพืชมำกที่สุด
อาณาจักรโพรทิสตา อะมีโบซัว
• เป็นที่มีช่วงระยะเวลำหนึ่งหรือตลอดทั้งวงชีวิตดำรงชีวิตแบบอะมีบำ มีกำรเคลื่อนที่แบบอะมีบำ (amoeboid movement)
หรือมีกำรใช้เท้ำเทียม (pseudopodium)

ไมซีโทซัว (micetozoa) ไรโซโพดา

𝑃ℎ𝑦𝑠𝑎𝑟𝑢𝑚 sp. 𝐷𝑖𝑐𝑡𝑦𝑜𝑠𝑡𝑒𝑙𝑖𝑢𝑚 sp. 𝐴𝑚𝑜𝑒𝑏𝑎 sp.

ราเมือกชนิดพลาสโมเดียว ราเมือกชนิดเซลลูลาร์ • เคลื่อนที่และกินอำหำรโดยใช้เท้ำเทียม


• มีวงชีวิต 2 ระยะ • มีวงชีวิต 2 ระยะ
- ระยะพลำสโมเดียม - ระยะพลำสโมเดียมไม่รวมกลุ่ม
- ระยะสปอร์แรงเจียม - ระยะสปอร์แรงเจียม
อาณาจักรพืช
เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้
ซึง่ นักวิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่าเมื่อประมาณ 500 ล้านปี
พืชเริ่มมีวิวัฒนาการจากน้าขึน้ มาอยู่บนบก
โดยพืชรุ่นแรกๆ น่าจะวิวัฒนาการมาจากสาหร่ายสีเขียว
อาณาจักรพืช ลักษณะของพืช
พืชเป็นสิ่งมีชีวิตหลำยเซลล์จำพวกยูคำริโอต (eukaryotic cell) โดยเซลล์รวมกันเป็นเนื้อเยื่อ ซึ่งมีลักษณะ ดังนี้

• เป็นผู้ผลิต (producer)
• มีรงควัตถุประเภทคลอโรฟิลล์ และแคโรทีนอยด์ ซึ่งอยูภายในคลอโรพลาสต์
• ผนังเซลล์ประกอบไปด้วยเซลลูโลส
• ปากใบ (stoma) ช่วยควบคุมสมดุลน้า และแลกเปลี่ยนแก๊ส
• มีวงจรชีวิตแบบสลับ (alternation of generation)
อาณาจักรพืช พืชไม่มีท่อลาเลียง
• เป็นพืชกลุ่มแรกที่มีวิวัฒนำกำรขึ้นมำอยู่บนบก ต้องอำศัยน้ำและควำมชื้นในกำรดำรงชีวิต จึงมักพบอยู่ตำมที่ชื้นแฉะ โดยมี
โครงสร้ำงคล้ำยรำก เรียกว่ำ ไรซอยด์ (rhizoid) ทำหน้ำที่ดูดน้ำและแร่ธำตุต่ำง ๆ มีช่วงแกมีโทไฟต์เด่น ช่วงสปอโรไฟต์
พบเพียงบำงช่วง โดยจะเจริญอยู่บนแกมีโทไฟต์
ไฟลัมเฮปาโทไฟตา ไฟลัมแอนโทซีโรไฟตา ไฟลัมไบรโอไฟตา

ลิเวอร์เวิร์ต (liverwort) ฮอร์นเวิร์ต (hornwort) มอส (moss)


• แกมีโทไฟต์เป็นแผ่น • แกมีโทไฟต์เป็นแผ่น • แกมีโทไฟต์คล้ำยลำตันและใบ
• สปอโรไฟต์มีก้ำนชูอับสปอร์ • สปอร์โรไฟต์คล้ำยเขำสัตว์ • สปอร์โรไฟต์เจริญอยู่บนแกมีโทไฟต์
• เจมมำ คัพช่วยสืบพันธุ์แบบไม่อำศัยเพศ • 1 คลอโรพลำสต์ต่อ 1 เซลล์
อาณาจักรพืช พืชมีท่อลาเลียงที่ไม่มีเมล็ด
ไฟลัมไลโคไฟตา (Phylum Lycophyta)
• ระยะสปอโรไฟต์มีใบแบบไมโครฟิลล์ (microphyll) ที่ปลำยกิ่งจะมีกลุ่มสปอโรฟิลล์ (sporophyll) ทำหน้ำที่สร้ำงอัปสปอร์
หรือสโตรบิลัส (strobilus)
ไลโคโพเดียม ซีแลกจิเนลลา ไอโซอีเทส

คลับมอส (club moss) สไปก์มอส (spike moss) ไอโซอีเทส (Isoetes)


• สร้ำงสปอร์ชนิดเดียว • สร้ำงสปอร์ 2 ชนิด • สร้ำงสปอร์ 2 ชนิด
• สโตรบิลัสอยู่ที่ยอด • เช่น ตีนตุ๊กแก • เช่น กระเทียมน้ำ
• เช่น ช้องนำงคลี่ สร้อยสุกรม
อาณาจักรพืช พืชมีท่อลาเลียงที่ไม่มีเมล็ด
ไฟลัมโมนิโลไฟตา (Phylum Monilophyta)

หวายทะนอย (whisk fern) หญ้าถอดปล้อง (horsetail) เฟิน (fern)

• ใบคล้ำยเกล็ด • ลำต้นเป็นข้อปล้องชัดเจน • Circinate vernation


• มีกำรแตกกิ่งย่อบเป็นคู่ ๆ • ใบเป็นเกล็ดเชื่อมกันในแตละข้อ • ใบเป็นแบบเมกะฟิลล์ คล้ำยขนนก
• 3 อับสปอร์รวมกัน = ซินเนเจียม • อับสปอร์รวมกันที่ปลำยกิ่ง เรียกว่ำ • อับสปอร์รวมกลุ่มกัน เรียกว่ำ ซอรัส
• สร้ำงสปอร์ชนิดเดียว สปอร์แรงจิโอฟอร์ • ระยะสปอโรไฟต์เด่น
• สร้ำงสปอร์ชนิดเดียว
อาณาจักรพืช พืชมีท่อลาเลียงที่มเี มล็ด
พืชเมล็ดเปลือย (gymnosperm)
• ออวุลจะติดอยู่บนกิ่งหรือแผ่น บำงชนิดกิ่งหรือแผ่นใบที่สร้ำงออวุลมีลักษณะเป็นแผ่นแข็งและเรียงซ้อนกันเป็นสโตรบิลัส
เรียกว่ำ โคน (cone) โดยแยกออกเป็นเพศผู้ (male cone) และโคนเพศเมีย (female cone)

ไฟลัมนีโทไฟตา
ไฟลัมไซแคโดไฟตา ไฟลัมกิงโกไฟตา
ไฟลัมโคนิเฟอโรไฟตา

มะเมื่อย
ปลง
แปะก๊วย สน
อาณาจักรพืช พืชมีท่อลาเลียงที่มเี มล็ด
พืชดอก (angiosperm)
• จั ด อยู่ ใ นไฟลั ม แอนโทไฟตำ (Phylum Anthophyta) เป็ น กลุ่ ม ที่ มี ค วำมหลำกหลำยมำกที่ สุ ด ในอำณำจั ก รพื ช มี ด อก
(flower) เป็นอวัยวะสืบพันธุ์ มีกำรกำรปฏิสนธิแบบคู่ (double fertilization) เกิดเป็นเอนโดสเปิร์ม และเอมบริโอที่เจริญ
อยู่ภำยในเมล็ดที่มีผลหุ้ม ซึ่งพัฒนำมำจำกรังไข่ (ovary)

โป๊ยกั๊ก พืชใบเลี้ยงเดี่ยว : กล้วยไม้


แอมโบเรลลา

จาปี
บัว
พืชใบเลี้ยงคู่ : กุหลาบ
อาณาจักรฟังไจ
สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรฟังไจ (kingdom Fungi) เป็นสิ่งมีชีวิตประเภท
ยูคาริโอต มีทั้งพวกที่เป็นเซลล์เดียว และหลายเซลล์
แต่เซลล์ไม่มีการพัฒนาไปเป็นเนื้อเยื่อ มีลักษณะแตกต่างจากสิ่งมีชีวิต
กลุ่มยูแคริโอตอื่น ๆ ในด้านการดารงชีวิต
การเจริญเติบโต และการสืบพันธุ์
อาณาจักรฟังไจ ลักษณะของฟังไจ
• ฟังไจ หรือกลุ่มของเห็ด รำ และยีสต์ ส่วนใหญ่มีกำรดำรงชีวิตเป็นผู้ย่อยสลำยซำก (decomposer) บำงชนิดดำรงชีวิต
เป็นปรสิต โดยผนังเซลล์ของฟังไจเป็นสำรประเภทไคทิน

ไฮฟาแบบมีเยื่อกั้น ไฮฟาแบบไม่มีเยื่อกั้น
เยื่อกั้น ผนังเซลล์
ผนังเซลล์ ทำงเชื่อมระหว่ำงเซลล์ นิวเคลียส
นิวเคลียส

2
1 ไมซีเลียม (mycelium)
เกิดจำกกลุ่มของไฮฟำ (hypha) มีลักษณะเป็นเส้นบำงที่ประกอบขึ้นจำกเซลล์ โดยแบ่งออกเป็น
2 ประเภท คือ แบบมีเยื่อกั้นและไม่มีเยื่อกั้น

1
2 ฟรุตติงบอดี (Fruiting body)
หรือเรียกว่ำ เห็ด (mushroom) เป็นโครงสร้ำงที่เกิดจำกไมซีเลียมของฟังไจบำงชนิดรวมกลุ่มกัน
เป็นมัด ทำหน้ำที่สร้ำงสปอร์จำกกำรสืบพันธุ์แบบอำศัยเพศ
อาณาจักรฟังไจ ไฟลัมไคทริดิโอไมโคตา (Phylum Chytridiomycota)
• สร้ำงเซลล์สืบพันธุ์ที่มีแฟลเจลลำ (zoospore)
• พบในที่ชื้นแฉะ หรือใกล้แหล่งน้ำ
• เป็นปรสิตในกบ
• เช่น 𝐵𝑎𝑡𝑟𝑎𝑐ℎ𝑜𝑐ℎ𝑦𝑡𝑟𝑖𝑢𝑚 𝑑𝑒𝑛𝑑𝑟𝑜𝑏𝑎𝑡𝑖𝑑𝑖𝑠
ซูโอสปอร์ฝังในผิวหนังของ
ซูโอสปอร์ (zoospore) โฮสต์และเจริญเป็นตัวเต็มวัย
ว่ำยไปหำโฮสต์

โฮสต์จะตำย
ภำยใน 120 วัน
ไคทริดตัวเต็มวัยเริ่มสร้ำง
ซูโอสปอร์ภำยในอับสปอร์
ซูโอสปอร์กระจำย
ออกจำกอับสปอร์
อาณาจักรฟังไจ ไฟลัมไซโกไมโคตา (Phylum Zygomycota)
• ไซโกตฟังไจ
• ดำรงชีวิตแบบอิสระเป็นผู้ย่อยสลำยสำรอินทรีย์
• ไฮฟำเป็นแบบไม่มีเยื่อกั้น
• สืบพันธุ์แบบไม่อำศัยเพศ โดยสร้ำงสปอร์แรงจิโอสปอร์ (sporangiospore)
• สืบพันธุ์แบบอำศัยเพศ โดยสร้ำงไซโกสปอร์ (zygospore)
• เช่น รำดำบนขนมปัง (𝑅ℎ𝑖𝑧𝑜𝑝𝑢𝑠 𝑠𝑡𝑜𝑙𝑜𝑛𝑖𝑓𝑒𝑟)
อาณาจักรฟังไจ ไฟลัมโกลเมอโรโมโคตา (Phylum Glomeromycota)
• ไมคอร์ไรซำ (mycorrhiza)
• เส้นใยรำแบบไม่มีผนังกั้น
• ดำรงแบบพึ่งพำ (mutualism) กับรำกของพืช
• ฮอสโตเรียม (haustorium) ช่วยทำให้พืชสำมำรถดูดน้ำและแร่ธำตุได้มำกขึ้น
อาณาจักรฟังไจ ไฟลัมแอสโคโมโคตา (Phylum Ascomycota)
• แซคฟังไจ (sac fungi)
• ไฮฟำจะมีผนังกั้น (septate hypha) ระหว่ำงเซลล์
• สืบพันธุ์แบบอำศัยเพศ โดยสร้ำงแอสโคสปอร์ (ascospore) บรรจุในถุงแอสคัส (ascus)
• สืบพันธุ์แบบไม่อำศัยเพศ โดยสร้ำงสปอร์ (conidium) บนโคนิดิโอฟอร์ (conidiophore)
• เช่น ยีสต์ (𝑠𝑎𝑐𝑐ℎ𝑎𝑟𝑜𝑚𝑦𝑐𝑒𝑠 sp. ) เห็ดถ้วย (𝐶𝑜𝑜𝑘𝑒𝑖𝑛𝑎 𝑖𝑛𝑠𝑡𝑖𝑡𝑖𝑎) เห็ดโมเรล
(𝑀𝑜𝑟𝑐ℎ𝑒𝑙𝑙𝑎 sp. ) เห็ดทรัฟเฟิล (𝐴𝑠𝑡𝑟𝑎𝑒𝑢𝑠 sp. ) แอสโคสปอร์ (ascospore)

เห็ดถ้วย

เห็ดโมเรล

เห็ดทรัฟเฟิล
อาณาจักรฟังไจ ไฟลัมเบสิดิโอโมโคตา (Phylum Basidiomycota)
• คลับฟังไจ (club fungi)
• สืบพันธุ์แบบอำศัยเพศโดยกำรสร้ำงเบสิดิโอสปอร์ (basidiospore) บนเบสิเดียม (basidium)
• เช่น รำสนิม (𝑃𝑢𝑐𝑐𝑖𝑛𝑖𝑎 sp. ) เห็ดโคน (𝑇𝑒𝑟𝑚𝑖𝑡𝑜𝑚𝑦𝑐𝑒𝑠 𝑓𝑢𝑙𝑖𝑔𝑖𝑛𝑜𝑠𝑢𝑠) เห็ดฟำง (𝑉𝑜𝑙𝑣𝑎𝑟𝑖𝑒𝑙𝑙𝑎 𝑣𝑜𝑙𝑣𝑎𝑐𝑒𝑎)
เห็ดเยื่อไผ่ (𝑃ℎ𝑎𝑙𝑙𝑢𝑠 𝑖𝑛𝑑𝑢𝑠𝑖𝑎𝑡𝑢𝑠) และเห็ดหอม (𝐿𝑒𝑛𝑡𝑖𝑛𝑢𝑙𝑎 𝑒𝑑𝑜𝑑𝑒𝑠)

เห็ดเยื่อไผ่
เห็ดหอม
อาณาจักรสัตว์
สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์จาพวกยูคาริโอต (eukaryotic cell)
ที่เซลล์รวมตัวกันเป็นเนื้อเยื่อเพื่อทาหน้าที่เฉพาะ
โดยดารงชีวิตเป็นผู้บริโภค ไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง (heterotroph)
เคลื่อนไหวได้ด้วยการทางานร่วมกันของระบบประสาทและระบบโครงร่าง
เรียนรู้และตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้ดี
อาณาจักรสัตว์ เกณฑ์ในการจาแนกสัตว์

การเปลี่ยนแปลง การเจริญ
เนื้อเยื่อ ช่องว่างในลาตัว ลักษณะสมมาตร
ของบลาสโทพอร์ ในระยะตัวอ่อน
พบในตัวอ่อนสัตว์ที่มสี มมำตร พบในพวกโพรโทสโตเมีย
ด้ำนข้ำง
• โพรโทสโตเมีย • โทรโคฟอร์
ไม่มีช่องว่ำงในลำตัว
(protostomia) (trochophore)
ไม่มีเนื้อเยื่อที่แท้จริง สมมำตรแบบรัศมี • ดิวเทอโรสโตเมีย • เอคไดโซซัว
(deuterostomia) (ecdysozoa)

ช่องว่ำงในลำตัวแบบเทียม

มีเนื้อเยื่อแท้จริง สมมำตรแบบด้ำนข้ำง
ช่องว่ำงในลำตัวแท้จริง
อาณาจักรสัตว์ ไฟลัมพอริเฟอรา (Phylum Porifera)
ฟองน้าถูตัว
ฟองน้าแก้ว

• ไม่มีเนื้อเยื่อที่แท้จริง
• ลำตัวเป็นรูพรุน ช่วยในกำรไหลเวียนของนำภำยในลำตัว
• collar cell (choanocyte) ที่ช่วยดักจับอำหำร
• ตัวเต็มวัยฟองน้ำดำรงชีวิตแบบเกำะอยู่กับที่ (sessile animal)
• มีโครงสร้ำงค้ำจุนภำยในลำตัว เรียก สปิคูล (spicule)
• เช่น ฟองน้ำ (sponge) ฟองน้าหินปูน
อาณาจักรสัตว์ ไฟลัมพอริเฟอรา (Phylum Porifera)
• มีเนื้อเยื่อ 2 ชั้น
แมงกระพรุนกล่อง
• สมมำตร
- ตัวอ่อนมีสมมำตรแบบด้ำนข้ำง
- ตัวเต็มวัยมีสมมำตรแบบรัศมี
• มีรูปร่ำง 2 แบบ
ไฮดรา
- แบบโพลิป (polyp)
- แบบเมดูซำ (medusa) แมงกระพรุน
• ที่เทนทำเคิลมีไนโดไซต์ หรือเข็มพิษ (cnidocyte) ซึ่งใช้จับ
เหยื่อ หรือป้องกันตัว
• ท่อทำงเดินอำหำรแบบไม่สมบูรณ์ = ช่องแกสโตรวำสคิวลำร์
• เช่น ไฮดรำ แมงกระพรุน แมงกระพรุนกล่อง ปะกำรัง
กัลปังหำ

กัลปังหา
อาณาจักรสัตว์ ไฟลัมแพลทีเฮลมินทีส (Phylum Platyhelminthes)

• หนอนตัวแบน (flatworm)
• มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น หนอนหัวขวาน
• ไม่มีช่องว่ำงในลำตัว
• สมมำตรแบบด้ำนข้ำง
• ทำงเดินอำหำรไม่สมบูรณ์ พลานาเลีย
• กำรดำรงชีวิต
- แบบอิสระ เช่น พลำนำเลีย หนอนหัวขวำน
- แบบปรสิต เช่น พยำธิตัวตืด พยำธิใบไม้
• ใช้เฟลมเซลล์เป็นอวัยวะขับถ่ำย

พยาธิตัวตืด
อาณาจักรสัตว์ ไฟลัมมอลลัสกา (Phylum Mollusca)

• สัตว์ลำตัวอ่อนนุ่ม
ทากทะเล
• มีช่องว่ำงในลำตัวแท้จริง
• สมมำตรแบบด้ำนข้ำง
หมึก
• ทำงเดินอำหำรแบบสมบูรณ์
• รูปแบบกำรเจริญเป็นแบบโพรโทสโตม
• ตัวอ่อนจัดอยู่ในกลุ่มโลโฟโทโคซัว (lophotrochozoa)
• เมนเทิลสร้ำงเปลือกแข็งที่มีสำรประกอบแคลเซียมหุ้มตัว
• ใช้อวัยวะคล้ำยไตหรือเนฟิเดียมเป็นอวัยวะขับถ่ำย
• เช่น ลิ่นทะเล หอยฝำเดียว หอยสองฝำ ทำกทะเล และหมึก
หอยทาก
อาณาจักรสัตว์ ไฟลัมแอนเนลิดา (Phylum Annelida)

• หนอนปล้อง (segmented worm) แม่เพรียง


- หนองปล้องทะเล (polychaete) เช่น แม่เพรียง
- หนอนปล้องบก (oligochaete) เช่น ไส้เดือน ปลิงน้ำจืด ทำกดูดเลือด
• ลำตัวมีปล้องทั้งด้ำนในและด้ำนนอก
• มีช่องว่ำงในลำตัวแท้จริง
• สมมำตรแบบด้ำนข้ำง
• ทำงเดินอำหำรแบบสมบูรณ์
• ระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิด ทากดูดเลือด
• ใช้อวัยวะคล้ำยไตหรือเนฟิเดียมเป็นอวัยวะขับถ่ำย

ไส้เดือน
อาณาจักรสัตว์ ไฟลัมนีมาโทดา (Phylum Nematoda)

• หนอนตัวกลม (round worm)


• มีลำตัวเป็นทรงกระบอก ไม่มีปล้อง
• มีช่องว่ำงในลำตัวแท้แบบเทียม
• สมมำตรแบบด้ำนข้ำง
• ทำงเดินอำหำรแบบสมบูรณ์
• รูปแบบกำรเจริญเป็นแบบโพรโทสโตม
• จัดอยู่ในกลุ่มเอคไดโซซัว พยาธิไส้เดือน
• ลำตัวคลุมด้วยคิวทิเคิล
• ขับถ่ำยผ่ำนท่อขับถ่ำย (excretory canal)
• เช่น พยำธิปำกขอ พยำธิเส้นด้ำย พยำธิไส้เดือน พยำธิโรคเท้ำช้ำง พยำธิ
แส้ม้ำ ตัวจี๊ด และไส้เดือนฝอย

พยาธิหนอนหัวใจสุนัข
อาณาจักรสัตว์ ไฟลัมอาร์โทรโพดา (Phylum Arthropoda)

• สัตว์ขำปล้อง (arthropod)
• รยำงค์เป็นข้อปล้อง
• สมมำตรด้ำนข้ำง
• มีเปลือกแข็งที่เป็นสำรประเภทไคทินหุ้มลำตัว
• จัดอยู่ในกลุ่มเอคไดโซซัว
• ทำงเดินอำหำรสมบูรณ์
• อวัยวะในระบบขับถ่ำย
- ท่อมัลพิเกียน
- ต่อมเขียว
• ตัวอ่อนมีกำรเจริญในลักษณะเฉพำะ เรียกว่ำ
เมทามอร์โฟซิส
อาณาจักรสัตว์ ไฟลัมอาร์โทรโพดา (Phylum Arthropoda)

ซับไฟลัมเชอริเซอราตา ซับไฟลัมไมเรียโพดา ซับไฟลัมครัสเทเซีย ซับไฟลัมเฮคซะโพดา

คลาสเมอโรสโตมาตา คลาสไดโพลโพดา แมลง


กุ้ง

แมงดาทะเล
กิ้งกือ กระสุนพระอินทร์
ปู
คลาสอะแรคนิดา
คลาสชิโลโพดา
กั้ง

แมงมุม ตะขาบ
อาณาจักรสัตว์ ไฟลัมเอไคโนเดอร์มาตา (Phylum Echinodermata)

ดาวทะเล
• ช่องว่ำงในลำตัวแท้จริง
• ตัวเต็มวัยมีสมมำตรแบบรัศมี
• รูปแบบกำรเจริญของตัวอ่อนเป็นแบบดิวเทอโรสโตม
• ระบบหมุนเวียนน้ำ water vascular system ใช้ทิวป์ฟีท
(tube feet) ในกำรเคลื่อนที่
• มีโครงร่ำงแข็งภำยใน เรียกว่ำออสซิเคิล
• เช่น ดำวขนนก ดำวเปรำะ ปลิงทะเล เม่นทะเล และดำวทะเล

เม่นทะเล หมึก
อาณาจักรสัตว์ ไฟลัมคอร์ดาตา (Phylum Chordata)
ฉลาม

• สัตว์มีแกนสันหลัง (chordates)
• สมมำตรแบบด้ำนข้ำง
• รูปแบบกำรเจริญของตัวอ่อนเป็นแบบดิวเทอโรสโตม สุนัข
• ลักษณะร่วมของสัตว์ในกลุ่มคอร์เดต
- มีโนโทคอร์ด (Notochord) อย่ำงน้อยชั่วระยะหนึ่งของชีวิต
- กำรมีท่อประสาทกลวงที่ด้านหลัง(dorsal hollow nerve cord)
- กำรมีช่องเหงือก (gill slit)
- มีส่วนหางยื่นเลยทวำรหนักไป
จระเข้
อาณาจักรสัตว์ ไฟลัมคอร์ดาตา (Phylum Chordata)

ซับไฟลัมยูโรคอร์ดาตา ซับไฟลัมเซฟาโลคอร์ดาตา

เพรียงหัวหอม (tunicate) แอมฟิออกซัส (amphioxus)


• ตัวเต็มวัยไม่มีโนโทคอร์ด • รูปร่ำงคล้ำยใบมีด
• มีสำรเหนียว เรียกว่ำ ทูนิก ปกคลุมลำตัว • มีลักษณะของคอร์เดตครบทั้ง 4 ประกำรตลอดทั้งชีวิต
อาณาจักรสัตว์ ไฟลัมคอร์ดาตา (Phylum Chordata)

ซับไฟลัมเวอร์ทิบราตา
สัตว์มีกระดูกสันหลังที่ไม่มีขากรรไกร เช่น ปลาปากกลม (Agnatha)
• แฮกฟิช (hagfish) • แลมเพรย์ (lamprey)
- ดำรงชีวิตเป็นผู้กินซำก - ดำรงชีวิตเป็นปรสิต
- สร้ำงเมือกได้เป็นจำนวนมำก - มีโครงร่ำงเป็นกระดูกอ่อน
อาณาจักรสัตว์ ไฟลัมคอร์ดาตา (Phylum Chordata)

ซับไฟลัมเวอร์ทิบราตา
สัตว์มีกระดูกสันหลังที่มีขากรรไกร
• คลาสคอนดริคไทอิส (Class Condrichtyes)
- ปลำกระดูกอ่อน
- ไม่มีแผ่นปิดเหงือก (operculum)
- มีกำรปฏิสนธิในร่ำงกำย และออกลูกเป็นตัว
- มีเกล็ดแหลมปกคลุมร่ำงกำย
ปลากระเบน
- เช่น ปลำฉลำม ปละกระเบน

ปลาฉลาม
อาณาจักรสัตว์ ไฟลัมคอร์ดาตา (Phylum Chordata)

• คลาสออสติอิคไทอิส (Class Osteichtyes)


- ปลำกระดูกแข็ง
- ผิวหนังมีเกล็ดปกคลุม
- มีแผ่นปิดเหงือก
- มีอวัยวะสำหรับเติมแก๊ส คือ ถุงลม ปอด
- ปฏิสนธิภำยนอก และออกลูกเป็นไข่

ปลามีก้านครีบ (ray − finned fish) ปลามีครีบเนื้อ (lobe − finned fish)


อาณาจักรสัตว์ ไฟลัมคอร์ดาตา (Phylum Chordata)

• คลาสแอมฟิเบีย (Class Amphibia)


- สัตว์เทินน้ำสะเทินบก
- ไม่มีเกล็ดปกคลุมร่ำงกำย
- ปฏิสนธิภำยนอก และออกลูกเป็นไข่
- ตัวอ่อนอำศัยอยู่ในน้ำ และหำยใจด้วยเหงือก
- ตัวเต็มวัยใช้ปอดและผิวหนังในกำรหำยใจ
- เช่น กบ ซำลำมันเดอร์ และเขียดงู
กบ

แอกโซลอเติล

เขียดงู
อาณาจักรสัตว์ ไฟลัมคอร์ดาตา (Phylum Chordata)

• คลาสเอเวส (Class Aves)


- นก หรือสัตว์เลือดอุ่น
- กำรปรับโครงสร้ำงเพื่อช่วยในกำรบิน
- รยำงค์คู่หน้ำเปลี่ยนเป็นปีก
- ลำตัสปกคลุมด้วยขนที่เป็นแผง (feather)
- กระดูกมีรูพรุ่นทำให้น้ำหนักเบำ
นกที่บินได้ทั่วไป - ปฏิสนธิภำยใน และออกลูกเป็นไข่

นกที่ปีกเหมาะกับการว่ายน้า
นกขนาดใหญ่ที่บินไม่ได้
อาณาจักรสัตว์ ไฟลัมคอร์ดาตา (Phylum Chordata)

• คลาสเรปทิเลีย (Class Reptile) เต่าทะเล


- สัตว์เลื้อยคลำน
- จัดอยู่ในกลุ่มแอมนิโอต (Amniote)
- ผิวหนังปคลุมด้วยเกล็ดที่เป็นเครำทิน
- ใช้ปอดหำยใจ
- ปฏิสนธิภำยใน และออกลูกเป็นไข่ที่มีเปลือกหุ้ม

จระเข้ งูพิษไวเปอร์
อาณาจักรสัตว์ ไฟลัมคอร์ดาตา (Phylum Chordata)

• คลาสแมมมาเลีย (Class Mammalia)


- สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม
- มีหัวใจ 4 ห้องสมบูรณ์ และเป็นสัตว์เลือดอุ่น
- ลำตัวปกคลุมไปด้วยขนแบบเส้น (hair) หรือแบบขน
ยำวอ่อนนุ่ม (fur) และมีต่อมเหงื่อ
- มีใบหู และโครงสร้ำงภำยในของหูมีกระดูก 3 ชิ้น คือ
กระดูกค้อน ทั่ง โกลน ช่วยในกำรได้ยิน
- มีต่อมสร้ำงน้ำนมในเพศเมีย
- กะโหลกศีรษะมีขนำดใหญ่ เพื่อรองรับสมองที่มีขนำดใหญ่
และมีกำรเจริญพัฒนำที่ดีมำก
- เม็ดเลือดแดงไม่มีนิวเคลียส
อาณาจักรสัตว์ ไฟลัมคอร์ดาตา (Phylum Chordata)

สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ซับคลาส
ซับคลาสโพรเทอเรีย (SubClass Protheria) ซับคลาสเทอเรีย (SubClass Theria)
• ออกเป็นไข่ จิ้งโจ้
• มีทวำรร่วม (cloaca) • กลุ่มเมทาเทอเรีย (Metatheria)
• พบเฉพำะในประเทศออสเตรเลีย และนิวกีนี - สัตว์มีถุงหน้ำท้อง (marsupials) เช่น จิ้งโจ้
• เช่น ตุ่นปำกเป็ด - ส่วนมำกพบในทวีปออสเตรเลีย
- ลูกอยู่ในถุงหน้ำท้องจนกว่ำจะเจริญเติบโตเต็มที่

• กลุ่มยูเทอเรีย (Eutheria)
- สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมที่มีรก
- ตัวอ่อนมีกำรเจริญเติบโตภำยในมดลูกของแม่
ตุ่นปากเป็ด - ลูกได้รับอำหำรผ่ำนทำงรก แมวบ้าน
อาณาจักรสัตว์ ไพรเมต (primate)

• เป็นออร์เดอร์หนึ่งในกลุ่มยูเทอเรีย มีมือและเท้ำที่มี 5 นิ้ว


ซึ่ ง นิ้ ว หั ว แม่ มื อ พั บ ขวำงได้ ท ำให้ ส ำมำรถจั บ หรื อ ก ำ
สิ่งของต่ำง ๆ ได้ มีสมองขนำดใหญ่ ดวงตำอยู่ด้ำนหน้ำ
จึงมีกำรมองที่ดีกว่ำ และมีพฤติกรรมทำงสังคมซับซ้อน
มำกกว่ำสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมชนิดอื่น ๆ

สัตว์ ในกลุ่มไพรเมตสำมำรถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่


1. โพรซิเมียน (prosimian)
2. แอนโทรพอยด์ (Anthropoid)
อาณาจักรสัตว์ ไพรเมต (primate)

โพรซีเมียน (Prosimian) แอนโทรพอยด์ (Anthropoid)


• ส่วนใหญ่อำศัยบนตันไม้
• ตำกลมโตเพื่อใช้หำอำหำรในเวลำกลำงคืน
• เช่น ลีเมอร์ และทำร์เซีย

• ลิงมีหำง
- ลิงโลกเก่ำ และลิงโลกใหม่
• ลิงไม่มีหำง (apes)
- ชะนี อุรังอุตัง กอลริลลำ กอริลลำ ชิมแปนซี และมนุษย์
สรุปบทเรียน
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต การศึกษาความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต กาเนิดของสิ่งมีชีวิต
• ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ (biodiversity) หมำยถึง
กำรมี สิ่งมี ชีวิตหลำกหลำยชนิดมำอยู่ร่ วมกัน ณ สถำนที่ กาเนิดเซลล์ โพรคาริโอต
หนึ่งหรือระบบนิเวศใดระบบนิเวศหนึ่ง สิ่งมีชีวิตที่วิวัฒนำกำรมำจำกเซลล์แรกเริ่ม น่ำจะเป็น
สิ่งมีชีวิตที่ดำรงชีวิตโดยไม่ ใช้แก๊สออกซิเจน เนื่องจำกใน
ความหลากหลายทางพันธุกรรม ช่วงนั้นบรรยำกำศของโลกมีแก๊สออกซิเจนปริมำณน้อย
ควำมหลำกหลำยของสิ่งมีชีวิต ซึ่งเป็นผลมำจำกควำม
แปรผันทำงพันธุกรรม

1. กำรจัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิต นักวิทยำศำสตร์จัดหมวดหมู่ของ
ความหลากหลายของสปีชีส์ สิ่ งมี ชีวิตโดยพิ จำรณำจำกควำมสั มพั นธ์ ที่ใกล้ ชิดกันทำงสำย
ควำมหลำกหลำยของสปีชีส์สิ่งมีชีวติ วิ วั ฒ นำกำรและควำมคล้ ำ ยคลึ ง กั น ของสิ่ ง มี ชี วิ ต ซึ่ ง จั ด จำก
หมวดหมู่ใหญ่ลงไปหมวดหมู่ย่อย ๆ กาเนิดเซลล์ยูคาริโอต
2. ชื่อของสิ่งมีชีวิต กำรเขียนชื่อวิทยำศำสตร์  ในระบบทวินำม
เยื่อหุ้มเซลล์ของโพรคำริโอตคอดเว้ำ และพับซ้อนเข้ำไปใน
ความหลากหลายของระบบนิเวศ ส่วนแรกเป็นชื่อจีนัส และส่วนที่ 2 เป็นชื่อสปีชีส์
เซลล์กลำยเป็นเอนโดพลำสมิกเรติคิวลัมและเยื่อหุ้ม
ควำมหลำกหลำยของสิ่งมีชีวิต อันเนื่องมำจำกควำม 3. กำรระบุ ช นิ ด ไดโคโตมั ส คี ย์ (dichotomous key) เป็ น
นิวเคลียส ส่วนไมโทคอนเดรียและคลอโรพลำสต์เกิดจำก
แตกต่ำงของระบบนิเวศ เครื่องมือที่ ใช้ระบุชนิดของสิ่งมีชีวิต ซึ่งพิจำรณำควำมแตกต่ำง
โพรคำริโอตขนำดเล็กเข้ำไปอำศัย
ของโครงสร้ำงทีละลักษณะเป็นคู่ ๆ
สรุปบทเรียน
• อาณาจักรโพรทิสตา เป็นกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่มีควำมหลำกหลำยมำก และมีกำรค้นพบสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่อยู่ตลอดเวลำ ทำให้กำรจำแนกโพรทิสต์ออกเป็นกลุ่มต่ำง ๆ
มีข้อจำกัดเป็นจำนวนมำก เนื่องจำกกำรจัดหมวดหมู่ของโพรทิสต์มีกำรเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลำ

• อาณาจักรมอเนอรา มีลักษณะเป็นเซลล์แบบโพรคำริโอต (prokaryotic cell) เดิมสิ่งมีชีวิตเหล่ำนี้ถูกจัดอยู่ในกลุ่มเดียว ปัจจุบันนักอนุกรมวิธำนจัด


สิ่งมีชีวิตในกลุ่มนี้ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ อำร์เคียแบคทีเรีย (Archaebacteria) และกลุ่มยูแบคทีเรีย (Eubacteria)

• อาณาจักรฟังไจ เป็นสิ่งมีชีวิตประเภทยูคำริโอต มีทั้งพวกที่เป็นเซลล์เดียว และหลำยเซลล์ แต่เซลล์ไม่มีกำรพัฒนำไปเป็นเนื้อเยือ่ มีลักษณะแตกต่ำงจำก


สิ่งมีชีวิตกลุ่มยูแคริโอตอื่น ๆ ในด้ำนกำรดำรงชีวิต กำรเจริญเติบโต และกำรสืบพันธุ์

• อาณาจักรพืช เป็นสิ่งมีชีวิตหลำยเซลล์ สำมำรถสังเครำะห์ด้วยแสงได้ ซึ่งนักวิทยำศำสตร์สันนิษฐำนว่ำเมื่อประมำณ 500 ล้ำนปี พืชเริ่มมีวิวัฒนำกำรจำกน้ำ


ขึ้นมำอยู่บนบก โดยพืชรุ่นแรก ๆ น่ำจะวิวัฒนำกำรมำจำกสำหร่ำยสีเขียว

• อาณาจักรสัตว์ เป็นสิ่งมีชีวิตหลำยเซลล์จำพวกยูคำริโอต ที่เซลล์รวมตัวกันเป็นเนื้อเยื่อเพื่อทำหน้ำที่เฉพำะโดยดำรงชีวิตเป็นผู้บริโภค


eukaryotic cell
ไม่สำมำรถสร้ำงอำหำรได้เอง (heterotroph) เคลื่อนไหวได้ด้วยกำรทำงำนร่วมกันของระบบประสำทและระบบโครงร่ำง เรียนรู้และตอบสนองต่อสิ่งเร้ำได้ดี

You might also like