You are on page 1of 35

การวิเคราะห์ ข้อสอบ /

การหาคุณภาพของเครื่ องมือวัดผล

ดร.รอยพิมพ์ใจ เพชรกุล
ลักษณะเครื่องมือวัดผลที่ดี
1. ความเที่ยงตรง (validity)
2. ความเชื่อมัน่ (reliability)
3. ความยาก (difficulty)
4. อำนาจจำแนก (discrimination)
5. ความเป็ นปรนัย (objectivity)
ประเภทของความเที่ยงตรง
1. ความเที่ยงตรงเชิงเนื ้อหา (content validity)
2. ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้ าง (construct validity)
3. ความเที่ยงตรงตามเกณฑ์ที่เกี่ยวข้ อง (criteria relative validity)
3.1 ความเที่ยงตรงเชิงสภาพ (concurrent Validity)
3.2 ความเที่ยงตรงเชิงพยากรณ์ (predictive validity)
ความเชื่อมั่น (reliability)
- ผลการวัดคงที่ไม่วา่ จะใช้ วดั กี่ครัง้ ก็ตามกับกลุม่ เดิม
ค่าความเชื่อมัน่ = ความแปรปรวนของคะแนนจริ ง
ความแปรปรวนของคะแนนที่สงั เกตได้

ความแปรปรวนของคะแนนความคลาดเคลื่อน
หรื อ = 1-
ความแปรปรวนของคะแนนที่สงั เกตได้
ความยาก (difficulty)
- ข้ อสอบนันมี
้ คนตอบถูกมากหรื อน้ อย
อำนาจจำแนก (discrimination)

- จำแนกผู้เรี ยนได้ ตามความแตกต่าง ของบุคคลว่า ใครเก่ง


ปานกลาง อ่อน รอบรู้ ไม่รอบรู้
ความเป็ นปรนัย (objectivity)
- ความชัดเจน ความถูกต้ องตามหลักวิชา และความเข้ าใจ
ตรงกัน
- ตรงข้ ามกับความเป็ นอัตนัย (subjectivity)
ความเป็ นอัตนัย (subjectivity)
- ความยึดถือในความคิดเห็น ความรู้สกึ เหตุผลของแต่ละบุคคล
เป็ นสำคัญ
ลักษณะความเป็ นปรนัย ของเครื่องมือวัดผล
1. ความชัดเจนของคำถาม
2. ความชัดเจนในการให้ คะแนน
3. ความชัดเจนในการแปรความหมายของคะแนน
การวิเคราะห์ คุณภาพข้ อสอบรายข้ อ
- กระบวนการตรวจสอบคำตอบของผู้สอบในแต่ละข้ อ
เพื่อพิจารณาว่า
 ข้ อสอบแต่ละข้ อมีระดับความยาก
และค่าอำนาจจำแนกเพียงใด
 ประสิทธิภาพของตัวลวงในตัวเลือก
ของข้ อสอบข้ อนันมี
้ เพียงใด
หรือ เป็ นการหาค่าความยาก และอำนาจจำแนก ของข้ อสอบ
เป็ นรายข้ อ
วิธีวเิ คราะห์ ข้อสอบ
1. แบบอิงกลุม่
2. แบบอิงเกณฑ์
วิธีวเิ คราะห์ ข้อสอบ แบบอิงกลุ่ม
1. ใช้ เทคนิค 27 % - ผู้สอบจำนวนมาก คะแนนแจกแจงแบบปกติ

2. ใช้ เทคนิค 35% - คะแนนแจกแจงไม่ปกติ


การพิจารณาค่ าความยาก
ให้ P แทนค่าความยาก
จำนวนคนที่ตอบถูกในแต่ละข้ อ
ความยากของข้ อสอบ (P) =
จำนวนคนทังหมดที
้ ่ทำข้ อสอบในแต่ละข้ อ
เกณฑ์ ในการพิจารณาค่ าความยาก
P มีคา่ ตังแต่
้ 0.00 – 1.00
P ที่พอเหมาะควรมีคา่ ตังแต่้ 0.20 – 0.80
ถ้ าข้ อสอบข้ อใดมีผ้ ตู อบถูกหมด P = 1.00 แสดงว่า ง่ายมาก
ถ้ าข้ อสอบข้ อใดมีผ้ ตู อบผิดหมด P = 0.00 แสดงว่า ยากมาก
เกณฑ์ ในการพิจารณาค่ าความยาก
0.80 < P ≤ 1.00 แสดงว่า เป็ นข้ อสอบง่ายมาก ควรตัดทิ ้งหรื อปรับปรุง
0.60 ≤ P ≤0.80 แสดงว่า เป็ นข้ อสอบค่อนข้ างง่าย (ดี)
0.40 ≤ P < 0.60 แสดงว่า เป็ นข้ อสอบยากง่ายปานกลาง (ดีมาก)
0.20 ≤ P < 0.40 แสดงว่า เป็ นข้ อสอบค่อนข้ างยาก (ดี)
0.00 ≤ P < 0.20 แสดงว่า เป็ นข้ อสอบยากมาก ควรตัดทิ ้งหรื อปรับปรุง
อำนาจจำแนกของข้ อสอบ
อำนาจจำแนกของข้ อสอบ หมายถึง ประสิทธิภาพของ
ข้ อสอบในการแบ่งผู้สอบออกเป็ นสองกลุม่ คือกลุม่ ที่ได้ คะแนนสูง
หรื อกลุม่ เก่งกับกลุม่ ที่ได้ คะแนนต่ำหรื อกลุม่ อ่อน
เกณฑ์ ในการพิจารณาค่ าอำนาจจำแนก
ให้ r แทนค่าอำนาจจำแนก
r มีคา่ ตังแต่
้ – 1.00 ถึง + 1.00
- ข้ อสอบที่ดีความมีคา่ อำนาจจำแนกตังแต่ ้ 0.20 ขึ ้นไป
- ถ้ า r มีคา่ เป็ นลบหรื อน้ อยกว่า 0 แสดงว่า ข้ อสอบนันจำแนกกลั
้ บ
คือ คนเก่งทำไม่ได้ คนอ่อนทำได้
ต้ องปรับปรุงใหม่ หรื อ ตัดทิ ้ง
เกณฑ์ ในการพิจารณาค่ าอำนาจจำแนก
.40 ≤ r ≤ 1.00 แสดงว่า จำแนกได้ ดีเป็ นข้ อสอบที่ดี
.30 ≤ r ≤ .39 แสดงว่า จำแนกได้ เป็ นข้ อสอบที่ดีพอสมควร
อาจต้ องปรับปรุงบ้ าง
.20 ≤ r ≤ .29 แสดงว่า จำแนกพอใช้ ได้ แต่ต้องปรับปรุง
-1.00 ≤ r ≤ .19 แสดงว่า ไม่สามารถจำแนกได้ ต้องปรับปรุง
หรื อตัดทิ ้ง
วิธีวเิ คราะห์ ข้อสอบแบบอัตนัย
1. สูตรของ ซีเอ เดรก (C.A. Drake)
2. สูตรของ อาร์ ไวทนีย์ และดีแอล ซาเบอร์ ส
(D.R. Whitney and. D.L. Sabers)
การวิเคราะห์ คุณภาพของแบบทดสอบทัง้ ฉบับ
1. การตรวจสอบความเที่ยงตรง
1.1 แบบทดสอบอิงกลุม่
1.2 แบบทดสอบอิงเกณฑ์
1.1 วิธีตรวจสอบความเที่ยงตรงของแบบทดสอบแบบอิงกลุ่ม

1) ความเที่ยงตรงเชิงเนื ้อหา
2) ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้ าง
3) ความเที่ยงตรงตามเกณฑ์ที่เกี่ยวข้ อง
1) ความเที่ยงตรงเชิงเนือ้ หา
1.1) คำถามครอบคลุมเนื ้อหา และมีความสอดคล้ องกับเนื ้อหาที่แบ่ง
เป็ นหมวด หรื อหน่วยย่อยๆ หรื อไม่
- การพิจารณา ดูน้ำหนักพฤติกรรมที่จะวัดกับจำนวนข้ อคำถาม
ในพฤติกรรมนัน้ (ดูจากตารางวิเคราะห์หลักสูตร)
1.2) ตรวจสอบความสอดคล้ องระหว่ างเนือ้ หาที่วัด
กับจุดประสงค์ ท่ ตี ้ องการวัด
- เป็ นการหาค่าดัชนีความสอดคล้ องระหว่างข้ อคำถามกับจุด
ประสงค์ (Index of Item Objective Congruence หรื อ IOC)
เกณฑ์ การคัดเลือกข้ อคำถาม
1. ข้ อคำถามที่มีคา่ IOC ตังแต่
้ 0.5 – 1.00 คัดเลือกไว้ ใช้ ได้
2. ข้ อคำถามที่มีคา่ IOC ต่ำกว่า 0.5 ควรพิจารณาปรับปรุงหรื อตัดทิ ้ง
2) ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้ าง
2.1) หาความสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation corffients)
2.2) การใช้ กลุม่ ที่ร้ ูชดั อยูแ่ ล้ ว (Known-group technic)
3) ความเที่ยงตรงตามเกณฑ์ ท่ เี กี่ยวข้ อง
3.1) ความเที่ยงตรงเชิงสภาพ
3.2) ความเที่ยงตรงเชิงพยากรณ์
วิธีตรวจสอบความเที่ยงตรงของแบบทดสอบอิงเกณฑ์
1) การตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื ้อหา – ใช้ IOC
2) การตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้ าง
2.1) วิธีของคาเวอร์ (Caver)
2.2) สหสัมพันธ์แบบฟี่ (phi - correlation)
3) การตรวจสอบความเที่ยงตรงตามเกณฑ์ที่เกี่ยวข้ อง
3.1) ความเที่ยงตรงเชิงสภาพ
3.2) ความเที่ยงตรงเชิงพยากรณ์
ปั จจัยที่ส่งผลต่ อความเที่ยงตรง
1. กลุม่ ผู้รับการทดสอบ
2. เวลา
2. การตรวจสอบความเชื่อมั่น
2.1 แบบทดสอบอิงกลุม่
2.2 แบบทดสอบอิงเกณฑ์
2.1 แบบทดสอบอิงกลุ่ม
1) การทดสอบซ้ำ (test – retest method)
2) การใช้ แบบทดสอบคูข่ นาน (equivalent form or parallel form)
3) วัดความคงที่ภายใน (Internal consistency)
3. วัดความค่ งที่ภายใน
3.1) วิธีแบ่งครึ่ง (sprit – half method)
3.1.1 เทคนิควิธีของสเปี ยร์ แมน บราวน์ (Spearman Brown)
3.1.2 เทคนิควิธีของกัตแมน (Gutt man)
3.1.3 เทคนิควิธีของรูลอน (Rulon)
3.2) วิธีของคูเดอร-ริชาร์ ดสัน (Kuder-Richardson)
3.3) วิธีของครอนบาค (Cronbach)
2.2 วิธีหาความเชื่อมั่นแบบอิงเกณฑ์
1) ความเชื่อมัน่ แบบหาความค่งที่ของความรู้ (stability reliability)

2) ความเชื่อมัน่ แบบสอดคล้ องในการตัดสินใจ (decision consistency)


ปั จจัยที่ส่งผลต่ อความเชื่อมั่น
1. จำนวนข้ อสอบ หรื อความยาวของแบบทดสอบ
2. ลักษณะคำถาม
3. ความคงที่ของการให้ คะแนน
4. ระดับความยาก
5. ลักษณะของผู้รับการทดสอบ
6. วิธีหาค่าความเชื่อมัน่
7. สภาพแวดล้ อมในการดำเนินการสอบ

You might also like