You are on page 1of 22

วงรอบที่ 2

ระยะเวลาดาเนินการ

จานวน
วงรอบ วัน/เดือน/ปี ที่ปฏิบัติ กิจกรรมที่ปฏิบัติ
(ชั่วโมง)
24 สิงหาคม 2561 กาหนดปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียน 2
27 สิงหาคม 2561 ส่งแผนการจัดการเรียนรู้
27 สิงหาคม 2561 วิพากษ์แผนการจัดการเรียนรู้ 1
วงรอบที่ 2 27 สิงหาคม 2561 สังเคราะห์การวิพากษ์แผนการจัดการเรียนรู้
30 สิงหาคม 2561 ดาเนินการสอนและส่งคลิปบันทึกการสอน 1
3 กันยายน 2561 วิพากษ์การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1
3 กันยายน 2561 สรุปผลการดาเนินงาน 1
รวมเวลา 7
เอกสารหมายเลข 1

กาหนดบทบาทสมาชิก
วงรอบที่ 2

Buddy Teacher (ครูคู่นิเทศ) Mentor (พี่เลียง)

นายสุริยา สุวรรณรัตน์ นางสาวศรีประภา โคว้ตระกูล

บทบาท บทบาท
-ร่วมวิเคราะห์ปัญหา -ร่วมนิเทศ -ให้คาปรึกษาวิเคราะห์ปญ
ั หา
-ร่วมวิพากษ์แผน -ร่วมวิพากษ์การสอน -ร่วมวิพากษ์แผน -ร่วมวิพากษ์การสอน
-ร่วมสรุปผลวงรอบ -ร่วมสรุปผลวงรอบ

Model Teacher (ครูต้นแบบการสอน)


นางวารุณี เลิศลา

บทบาท
-หาปัญหาและสาเหตุ
-เขียนแผน รับฝังการวิพากษ์แผน
-สอน -ร่วมสรุปผลวงรอบ

Recorder (ผู้บันทึกรายงานการประชุม) Expert (ผู้เชี่ยวชาญ)

นางสุทธดา เหลืองห่อ นางธัญญารัตน์ อินทร์อนันต์

บทบาท บทบาท
-บันทึกปัญหาและสาเหตุ -ให้คาแนะนา -ประเมินแผน -วิพากษ์การ
-บันทึกสรุปผลการดาเนินงานตามวงรอบ สอน -ประเมินแบบสังเกตการสอน
-ถ่ายภาพ -บันทึกวีดีโอ สรุปภาพ -ร่วมสรุปผลวงรอบ
เอกสารหมายเลข 2

กาหนดปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียน

รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ครูผู้สอนนางวารุณี เลิศล้า

ปัญหาของนักเรียนที่พบ
นักเรียนขาดทักษะการคิดวิเคราะห์

สาเหตุของปัญหา

ครู การใช้สื่อ/เทคโนโลยี ขาดการเชื่อมโยง


ในการนาสื่อมาใช้
ครูไม่ให้ความสาคัญ

ขาดการนิเทศ
อุปกรณ์ไม่พร้อม
สาเหตุ
นักเรียนขาดทักษะ
สภาพห้องเรียนไม่ การคิดวิเคราะห์
เอือต่อการเรียนรู้ ขาดการออกแบบ
การจัดการเรียนรู้

ครูใช้ห้องเรียนร่วมกัน เคยชินการสอน
แบบบรรยาย
การจัดสภาพแวดล้อม วิธีการ/กระบวนการ

ปัญหาที่ครูจะแก้ไขในครังนีคือ
วิธีการ/กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู

วิธีแก้ไขปัญหา
จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดตามแนวหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ปัญหา
เป็นฐาน (PBL) ผสานหลักการทางานของศาสตร์พระราชา
เอกสารหมายเลข 3

แผนการจัดการเรียนรู้
เรื่องกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ครูผู้สอน นางวารุณี เลิศล้า
วันที่สอน 30 สิงหาคม 2561 จานวน 2 ชั่วโมง

๑. มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีวัด
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค 5.3 ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็นช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหา
ตัวชีว้ ัด ม.๔-๖/๒ ใช้ความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหา

๒. จุดประสงค์การเรียนรู้
๒.๑ ความรู้ (knowledge) นักเรียนสามารถ
2.1.1 ใช้ความรู้เกี่ยวกับกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวการนับ แก้ปัญหาหรือสถานการณ์ต่างๆได้
๒.2.2 อธิบายถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบ
๒.๒ ทักษะ/กระบวนการ (Process) นักเรียนมีความสามารถ
2.2.1 แก้ปัญหาเกี่ยวกับกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับได้
2.2.2 บอกเหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลการแก้ปัญหากฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับได้
อย่างเหมาะสม
2.2.3 สื่อสารและสื่อความหมายด้วยการนาเสนอการแก้ปัญหากฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับได้อย่าง
ถูกต้องและชัดเจน
2.2.4 เชื่อมโยงความรู้เกี่ยวกับกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับกับศาสตร์อื่นๆได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
2.2.5 คิดแก้ปัญหาได้อย่างริเริ่มสร้างสรรค์
๒.๓ คุณลักษณะ (Attributes) นักเรียน
2.3.1 มีความรับผิดชอบ
2.3.2 มีระเบียบวินัย
2.3.3 ทางานอย่างเป็นระบบ
๓. สาระสาคัญ
กฎเกณฑ์เบืองต้นเกี่ยวกับการนับ
1. กฎการบวก
ถ้าต้องการทางานชิ้นหนึ่งโดยที่งานอย่างแรกมีวิธีทาได้ n1 วิธี และงานอย่างที่สองมีวิธีทาได้ n2 วิธี
ซึ่งงานทั้งสองอย่างนี้ไม่สามารถทาพร้อมกันได้ (เป็นงานทีไม่ต่อเนื่อง) จานวนวิธีที่จะเลือกทางานทั้งหมดเท่ากับ
n1 + n2 วิธี
ในการทางานชิ้นหนึ่งถ้างานอย่างแรกมีวิธีเลือกทางานได้ n1 วิธี งานอย่างที่ 2 มีวิธีทางานได้ n2 วิธี
งานอย่างที่ 3 มีวิธีเลือกทางานได้ n3 วิธี ฯลฯ และงานอย่างที่ k มีวิธีเลือกทางานได้ nk วิธี โดยที่ไม่มีงานคู่ใด
สามารถทาพร้อมกันได้ (ไม่มีงานคู่ใดเป็นงานที่ต่อเนื่องกัน) แล้ว จานวนวิธีที่จะเลือกทางานทั้งหมดเท่ากับ n1 +
n2 + n3 + … + nk วิธี
2. กฎการคูณ
ถ้าต้องการทางานสองอย่างโดยที่งานอย่างแรกทาได้ n1 วิธี และในแต่ละวิธีที่เลือกทางานอย่าง
แรกนี้ มีวิธีทางานอย่างที่สองได้ n2 จานวนวิธีที่จะเลือกทางานทั้งสองอย่างเท่ากับ n1n2 วิธี
ถ้างานหนึ่งประกอบด้วยขั้นตอนแรก มีวิธีทาได้ n1 วิธี ในแต่ละวิธีที่เลือกทางานอย่างแรก มีวิธีที่
เลือกทางานอย่างที่สองได้ n2 วิธี ในแต่ละวิธีที่เลือกทางานอย่างแรกและงานอย่างที่สอง มีวิธีที่จะทางานอย่าง
ที่สามได้ n3 วิธี ฯลฯ จานวนวิธีทั้งหมดที่จะเลือกทางาน k อย่าง เท่ากับ n1n2n3 ... nk วิธี

๔. สาระการเรียนรู้
กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
๕. สมรรถนะสาคัญ (เน้นด้านความสามารถในการคิด)
5.1 ความสามารถในการสื่อสาร
5.2 ความสามารถในการคิด
5.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา
๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.1 มีวินัย
6.2 ใฝ่เรียนรู้
6.3 มั่งมั่นในการทางาน
๗. การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ความพอประมาณ การมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกัน ความรู้ คุณธรรม
การใช้ข้อมูลที่มี อธิบายถึงความ ใช้ความรู้ในการคิด ใช้ความรู้เรื่อง คิดอย่างถูกทาง
แก้ไขสถานการณ์ที่ สมเหตุสมผลของ วางแผน คิดแก้ปัญหา กฎเกณฑ์เบื้องต้น
กาหนดให้ คาตอบได้ คิดหลากหลาย เกี่ยวกับการนับใน
การแก้ปัญหา

๘. กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานผสานหลักการทางานของศาสตร์พระราชา
ขันที่ 1 กาหนดปัญหา
1. ครู ทบทวนความรู้ เกี่ย วกับกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับที่นักเรียนได้เรียนมาแล้ ว โดย
ยกตัวอย่างการหาจานวนวิธีทางานให้สาเร็จในสถานการณ์ต่างๆที่พบได้ในชีวิติประจาวัน เช่น
- การแต่งตัวมาโรงเรียนโดยใส่กางเกง 1 ตัวจากกางเกง 2 ตัวที่แตกต่างกันและเสื้อ 1 ตัวจาก
เสื้อ 3 ตัวที่แตกต่างกัน
- การเลือกรับประทานอาหารประเภทละ 1 อย่างจากอาหารคาว 3 อย่าง และอาหารหวาน 2
อย่าง โดยให้ทานครบทั้ง 2 ประเภท
ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการหาจานวนวิธีในการทางานดังกล่าว เพื่อแสดงให้
เห็นถึงการหาจานวนวิธีโดยอาศัยการใช้กฎเกณฑ์การนับเบื้องต้น
2. ครูนาเสนอสถานการณ์ปัญหาในใบกิจกรรมที่ 1 สถานการณ์ที่ 1 “ประตูกล” และสถานการณ์
ที่ 2 “ล่องเรือ” ให้นักเรียนศึกษาสถานการณ์ปัญหาที่กาหนดว่า สถานการณ์ที่กาหนดคืออะไร ต้องการให้
นักเรียนหาสิ่งใด ครูจัดสถานการณ์ต่าง ๆ กระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจและมองเห็นปัญหา จากนั้นครูให้
นักเรียนแบ่งออกเป็น กลุ่มละ 4 – 5 คน
ขันที่ 2 ทาความเข้าใจกับปัญหา
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมเสนอแนวคิดเพื่อศึกษารายละเอียดของปัญหา โดยครูให้นักเรียนเสนอ
แนวคิดย่อย ๆ จากปัญหาที่กาหนด แล้วร่วมกันกาหนดประเด็นปัญหาที่สาคัญ แยกแยะเกี่ยวกับสิ่งที่โจทย์ได้
กาหนดมาให้
ครูแนะนาให้นักเรียนนาหลักการทางานของศาสตร์พระราชา เรื่อง “เข้าใจ” มาใช้ในการทาความ
เข้าใจกับปัญหา โดยแนะนาให้นักเรียนศึกษาปัญหาโดยใช้ข้อมูลที่มีอยู่และการใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ ซึ่งในขั้นนี้
ครูใช้คาถามกระตุ้นให้นักเรียนคิดค้นหาวิธีการที่จะแก้ปัญหา ดังนี้
- จากสถานการณ์นี้ ต้องการให้เราหาอะไร
- สถานการณ์นี้ให้ข้อมูลอะไรบ้าง และเพียงพอที่จะหาคาตอบหรือไม่
- ปัญหานี้มีความเกี่ยวโยงกับความรู้คณิตศาสตร์ในเรื่องใด
- เราสามารถหาจานวนวิธีในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างไรบ้าง
2. เปิดโอกาสให้นักเรียนอภิปรายภายในกลุ่มย่อยแล้วช่วยกัน แก้ปัญหาเพื่อสรุปความคิด เขียน
ประเด็นที่ทราบและยังไม่ทราบ ตามประเด็นที่ กาหนดและบันทึกลงกรอบแนวคิด หากมีข้อสงสัยครูคอยให้
คาแนะนาเพิ่มเติม
3. ครูชี้แจงเพิ่มเติมให้นักเรียนทราบว่า การวิเคราะห์ปัญหาเพื่อนาไปสู่แนวทางในการแก้ไขปัญหา
นักเรียนจะต้องช่วยกันวิเคราะห์ปัญหาย่อยแต่ละข้อ ซึ่งต้องอาศัยเหตุผลและพื้นฐานความรู้เดิมและเพื่อให้ได้
ความรู้ที่ต้องการ ครูคอยตรวจสอบความชัดเจนและความสมเหตุสมผลในการทาความเข้าใจปัญหาและการ
ระบุปัญหาย่อยของแต่ละกลุ่มตามกรอบแนวคิดในใบกิจกรรมที่ ๑
ถ้ากลุ่มใดยังระบุปัญหาไม่ชัดเจนครูต้องคอยช่วยเหลือและกระตุ้นโดยการใช้คาถามเพื่อให้นักเรียน
เข้าใจในปัญหานั้นได้ชัดเจนยิ่งขึ้น
ขันที่ 3 ดาเนินการศึกษาค้นคว้า
1. หลังจากที่นักเรียนได้วิเคราะห์ปัญหาและรวบรวมแนวทางหรือวิธีการแก้ไขสถานการณ์ปัญหา
เรียบร้อยแล้ว ครูแนะนานักเรียนให้สารวจศึกษาสิ่งที่ได้วิเคราะห์ไว้และทาการศึกษาค้นคว้าตามแผนที่วางไว้
2. ครูแนะนาให้นักเรียนนาหลักการทางานของศาสตร์พระราชาเรื่อง “เข้าถึง” โดยครูใช้คาถามดังนี้
2.1 นักเรียนบอกได้หรือไม่ว่า การที่นักเรียนสามารถแก้ปัญหาจากสถานการณ์ที่กาหนด จะช่วย
ให้นักเรียนพัฒนาตนเองได้อย่างไร (ระเบิดข้างใน)
2.2 นักเรียนอธิบายให้เพื่อน ๆ เข้าใจได้หรือไม่ ว่า สถานการณ์ปัญหานี้ต้องการให้เราทาอะไร
(เข้าใจกลุ่มเป้าหมาย)
2.3 จากสถานการณ์ปัญหานี้ นักเรียนจะมีความรู้ในเรื่องใด (สร้างปัญญา)
3. ครูให้นักเรียนในแต่ละกลุ่ม ไปศึกษาเพิ่มเติม โดยสามารถหาได้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น ใบ
ความรู้ที่ 1 หนังสือเรียน อินเทอร์เน็ต ฯลฯ โดยที่นักเรียนแต่ละกลุ่มประชุมเพื่อแบ่งประเด็นที่ต้องศึกษา
ค้นคว้าเพิ่มเติมให้สมาชิกแต่ละคนมีหน้าที่ความรับผิดชอบในกลุ่ม โดยวางแผนการศึกษาค้นคว้า ดังนี้
- กาหนดวิธีการและแหล่งข้อมูล
- แบ่งหน้าที่ในการปฏิบัติงาน
- ลงมือดาเนินการศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ และบันทึกผลการศึกษาในแบบสรุปผล
การศึกษาค้นคว้า
ขันที่ 4 สังเคราะห์ความรู้
1. นักเรียนนาความรู้ที่ได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลเรียบร้อยแล้ วมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม แล้วให้
แต่ล ะกลุ่ มรายงานความก้าวหน้ ากับ ครูเ ดินดู ทีล ะกลุ่ ม ครูช่ ว ยตรวจสอบความถู กต้อ ง ชั ดเจนและความ
สมเหตุสมผลของแนวทางการแก้ปัญหาของนักเรียนแต่ละกลุ่ม
2. แต่ล ะกลุ่ มร่ ว มกัน อภิป รายผลและสั งเคราะห์ ภายในกลุ่ม ว่าความรู้ที่ได้มามีความเหมาะสม
หรือไม่ เพียงใด ถ้าเหมาะสมและเพียงพอก็สามารถนาไปใช้ในการแก้ปัญหา (ศาสตร์พระราชา : เข้าใจ –
วิเคราะห์และวิจัย , การทดลองจนได้ผลจริง) ถ้ายังไม่เพียงพอ สมาชิกในกลุ่มต้องช่วยกันค้นคว้าเพิ่มเติมรวมถึง
ต้องทบทวนข้อมูลอีกครั้ง และร่ว มกันตัดสินใจเลือกแนวทางและสั งเคราะห์วิธีการที่เหมาะสมที่สุดในการ
แก้ปัญหา แล้วบันทึกผลการแก้สถานการณ์ปัญหาในแบบสรุปผลการแก้สถานการณ์ปัญหา
ขันที่ 5 สรุปและประเมินค่าคาตอบ
นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าทั้งหมดภายในกลุ่ม รวมทั้ง
ปัญหาหรือข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น ขณะดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้และหากยังมีประเด็นไหนที่ยังไม่สมบูรณ์ ครูจะ
กระตุ้นให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพิ่มเติมอีกครั้ง
ขันที่ 6 นาเสนอและประเมินผลงาน
1. ครูสุ่มนักเรียนเพื่อเป็นตัวแทนกลุ่มรายงานผลการศึกษาค้นคว้าโดยสรุปประเด็นสาคัญลงในใบ
กิจกรรมที่ ๑ เพื่อนาเสนอตามหัวข้อ ต่อไปนี้
1.1 เริ่มต้นด้วยตนเอง โดยนักเรียนตัวแทนกลุ่มนาเสนอถึงกระบวนการทางานที่เริ่มต้นด้ว ย
ตนเองว่า ตามหัวข้อดังนี้ สมาชิกในกลุ่ม ปัญหา ข้อเท็จจริงจากปัญหา ประเด็นที่ต้องการศึกษาค้นคว้า
1.2 พึ่งพาตนเองได้ นักเรียนตัว แทนกลุ่มนาเสนอกระบวนการทางานที่สมาชิกในกลุ่มศึกษา
เนื้ อหาความรู้ และวิธีการแก้ปั ญหาด้ว ยตนเอง(กลุ่ม) ดังนี้ วิธีการศึกษา แหล่ งข้อมูล ผลสรุปที่ได้จากการ
แก้ปัญหา
1.3 ต้นแบบเผยแพร่ความรู้ นักเรียนตัวแทนกลุ่มนาเสนอองค์ความรู้ที่กลุ่มได้รับจากการศึกษา
แก้ปัญหาในสถานการณ์ที่กาหนด
ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนคนอื่นซักถามเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลที่แตกต่างออกไป
2. ครูให้นักเรียนกลุ่มที่มีแนวคิดแตกต่างจากกลุ่มที่นาเสนอแล้ว ออกมานาเสนอผลงาน แล้วครูและ
นักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงความแตกต่างและประเมินความเป็นไปได้ ความถูกต้องของการดาเนินการ
3. เมื่อนักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงานเสร็จเรียบร้อยแล้ว ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปผลการ
ดาเนิ น กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ แบบใช้ ปั ญหาเป็นฐานจากใบกิจ กรรมที่ 1 สถานการณ์ที่ 1 “ประตูกล” และ
สถานการณ์ที่ 2 “ล่องเรือ” ในแง่ของปัญหาที่พบเจอในการดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้และสิ่งที่ส่งเสริมการเรียนรู้
4. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาความรู้การใช้กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับในการแก้ไข
สถานการณ์ดังนี้
- ในการทางานชิ้นหนึ่งถ้างานอย่างแรกมีวิธีเลือกทางานได้ n1 วิธี งานอย่างที่ 2 มีวิธีทางานได้
n2 วิธี งานอย่างที่ 3 มีวิธีเลือกทางานได้ n3 วิธี ฯลฯ และงานอย่างที่ k มีวิธีเลือกทางานได้
nk วิธี โดยที่ไม่มีงานคู่ใดสามารถทาพร้อมกันได้ (ไม่มีงานคู่ใดเป็นงานที่ต่อเนื่องกัน) แล้ว
จานวนวิธีที่จะเลือกทางานทั้งหมดเท่ากับ n1 + n2 + n3 + … + nk วิธี
- ถ้างานหนึ่งประกอบด้วยขั้นตอนแรก มีวิธีทาได้ n1 วิธี ในแต่ละวิธีที่เลือกทางานอย่างแรก มี
วิธีที่ เลือกทางานอย่างที่สองได้ n2 วิธี ในแต่ละวิธีที่เลือกทางานอย่างแรกและงานอย่างที่
สอง มีวิธีที่จะทางานอย่างที่สามได้ n3 วิธี ฯลฯ จานวนวิธีทั้งหมดที่จะเลือกทางาน k
อย่าง เท่ากับ n1n2n3 ... nk วิธี
5. ให้นักเรียนบันทึกผลการเรียนรู้ในสมุดบันทึกแล้วทาแบบฝึกทักษะที่ 1

๙. สื่อและแหล่งเรียนรู้
9.1 สื่อ/วัสดุ/อุปกรณ์
9.1.1 ใบกิจกรรมที่ 1 การเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน
สถานการณ์ที่ 1 เรื่อง “ประตูกล”
สถานการณ์ที่ 2 เรื่อง “ล่องเรือ”
9.1.2 โปรเจกเตอร์ นาเสนองาน
9.1.3 แบบฝึกทักษะที่ 1
9.2 แหล่งเรียนรู้
9.2.1 ใบความรู้ที่ 1
9.2.2 หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ม. 5
9.2.3 อินเทอร์เน็ต
๑๐. การวัดและประเมินผล
สิ่งที่ต้องการวัด/ประเมิน วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์
ด้านความรู้ ตรวจใบกิจกรรมที่ 1 - ใบกิจกรรมที่ 1 ผ่านเกณฑ์ร้อย
1. ใช้ความรู้เกี่ยวกับกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยว และแบบฝึกทักษะที่ 1 - แบบฝึกทักษะที่ ละ 60 ขึ้นไป
การนับแก้ปัญหาหรือสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ 1
2. อธิบายถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบ
ทักษะ/กระบวนการ ตรวจใบกิจกรรมที่ 1 - ใบกิจกรรมที่ 1 ผ่านเกณฑ์
1. แก้ปัญหาเกี่ยวกับกฎเกณฑ์เบื้องต้น แบบฝึกทักษะที่ 1 - แบบฝึกทักษะที่ ระดับดีขึ้นไป
เกี่ยวกับการนับได้ และการสังเกต 1
2. บอกเหตุผลประกอบการตัดสินใจและ พฤติกรรมระหว่างเรียน - แบบประเมินใบ
สรุปผลการแก้ปัญหากฎเกณฑ์เบื้องต้น กิจกรรม
เกี่ยวกับการนับได้อย่างเหมาะสม - แบบประเมินใบ
3. สื่อสารและสื่อความหมายด้วยการนาเสนอ งาน
การแก้ปัญหากฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการ - แบบประเมิน
นับได้อย่างถูกต้องและชัดเจน ทักษะการ
4. เชื่อมโยงความรู้เกี่ยวกับกฎเกณฑ์เบื้องต้น แก้ปัญหา
เกี่ยวกับการนับกับศาสตร์อื่นๆได้อย่าง
ถูกต้องเหมาะสม
5. คิดแก้ปัญหาได้อย่างริเริ่มสร้างสรรค์
คุณลักษณะ สังเกตการร่วมกิจกรรม แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
1. มีความรับผิดชอบ การเรียนรู้ พฤติกรรม ระดับดีขึ้นไป
2. มีระเบียบวินัย
3. ทางานอย่างเป็นระบบ
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้

ผลการจัดการเรียนรู้
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน 2 ชั่วโมงนี้ พบว่านักเรียนมีความสนใจ ให้ความร่วมมือในการเรียนทุกคน
การเรี ย นรู้ แบบใช้ปั ญหาเป็ น ฐาน จั ดในรู ปแบบกิจกรรมกลุ่ ม พัฒ นาทักษะการคิ ดวิเคราะห์ โ ดยการกาหนด
สถานการณ์เพื่อให้นักเรียนร่วมกันแก้ปัญหา ทาให้ผู้เรียนส่วนใหญ่สามารถพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ได้ดีโดยมี
ผลการจัดการเรียนรู้ ดังนี้ มีนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม 21 คน ผ่านเกณฑ์ด้านความรู้จานวน 21 คน ผ่านเกณฑ์
ด้านทักษะ/กระบวนการในระดับดีขึ้นไป 21 คน ผ่านเกณฑ์ด้านคุณลักษณะในระดับดีขึ้นไปจานวน 21 คน

ปัญหาในการจัดการเรียนรู้
ในระหว่างการดาเนินกิจกรรมมีนักเรียน 2 – 3 ไม่สามารถทาแบบฝึกทักษะบางข้อได้ อาจเนื่องจากมี
พื้นฐานการคิดคานวณไม่ดี

อุปสรรค
-

แนวทางการพัฒนา
ควรทบทวนเนื้อหาที่สาคัญก่อนการดาเนินกิจกรรมเพื่อช่วยให้การดาเนินกิจกรรมในคาบนี้สาเร็จลุล่วง
ไปดีมากยิ่งขึ้น

ลงชื่อ..............................................ครูผู้สอน
(นางวารุณี เลิศล้า)
ตาแหน่งครู
ใบกิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน
สถานการณ์ที่ 1 เรื่อง “ประตูกล”
สถานการณ์ปัญหา : ห้องประชุมห้องหนึ่งมีประตูเข้า-ออก 6 ประตู ผู้เข้าประชุมแต่ละคนจะมีวิธีเลือกเดินเข้า-
ออกห้องประชุมได้อย่างไรบ้าง ถ้านักเรียนเป็นคนเลือกจะเลือกใช้แบบไหน เพราะเหตุใด
วิธีหาคาตอบและสรุปคาตอบ
ทาได้ 3 แบบ ได้แก่
แบบที่ 1 เข้าและออกประตูใดก็ได้ มีวิธีดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 เลือกเข้าประตู 1 ประตูจาก 6 ประตู ได้ 6 วิธี
ขั้นตอนที่ 2 เลือกออกประตู 1 ประตูจาก 6 ประตูได้ 6 วิธี
ดังนั้นจานวนวิธีเข้าและออกประตูใดก็ได้ ได้ทั้งหมด 6 x 6 = 36 วิธี
แบบที่ 2 เข้าและออกห้ามซ้าประตูเดิมก็ได้ มีวิธีดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 เลือกเข้าประตู 1 ประตูจาก 6 ประตู ได้ 6 วิธี
ขั้นตอนที่ 2 เลือกออกประตู 1 ประตูจาก 5 ประตูที่เหลือได้ 6 วิธี
ดังนั้นจานวนวิธีเข้าและออกห้ามซ้าประตูเดิมได้ทั้งหมด 6x5 = 30 วิธี
แบบที่ 1 เข้าและออกประตุเดิม มีวิธีดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 เลือกเข้าประตู 1 ประตูจาก 6 ประตู ได้ 6 วิธี
ขั้นตอนที่ 2 เลือกออกประตู 1 ประตูจากประตูที่เข้าได้ 1 วิธี
ดังนั้นจานวนวิธีเข้าและออกประตุเดิม ได้ทั้งหมด 6x1 = 6 วิธี

จะเลือกใช้แบบที่ ...............เพราะ.................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................................
......................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................................
..................................................................................................................................... .................................
............................................................................................................................. .........................................
เลขที่
ชื่อ-สกุล

1.กาหนดปัญหา

2.ทาความเข้าใจกับปัญหา
3.ดาเนินการศึกษาค้นคว้า

4.สังเคราะห์ความรู้
แบบปัญหาเป็นฐาน
ขั้นตอนการคิดแก้ปัญหา

5.สรุปและประเมินค่าคาตอบ

6.นาเสนอและประเมินผลงาน
แบบประเมินในการแก้ปัญหาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์

รวม
ระดับทักษะ
เกณฑ์การประเมินทักษะในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
ขั้นตอนการแก้ปัญหา
เกณฑ์การให้คะแนน
แบบปัญหาเป็นฐาน
ขั้นที่ 1 กาหนดปัญหา สามารถระบุปัญหา สามารถระบุปัญหา ระบุปัญหาไม่ถูกต้อง
ทางคณิตศาสตร์ได้ ทางคณิตศาสตร์ได้ หรือไม่ตอบ
(บอกสิ่งที่โจทย์ให้มา)
ถูกต้อง ถูกต้องเมื่อรับ
คาแนะนา
ขั้นที่ 2 ทาความเข้าใจกับปัญหา สามารถระบุเงื่อนไขที่ สามารถระบุเงื่อนไขที่ ระบุเงื่อนไขที่สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหา สถานการณ์ปัญหา ปัญหากาหนดให้ไม่
(เงื่อนไขที่โจทย์กาหนดให้)
กาหนดให้ได้ถูกต้อง กาหนดให้ได้ถูกต้อง ถูกต้องหรือไม่ตอบ
ครบถ้วน ด้วยตนเอง เมื่อได้รับคาแนะนา
หรือระบุได้ไม่
ครบถ้วน
ขั้นที่ 3 ดาเนินการศึกษาค้นคว้า สามารถตอบคาตอบ สามารถตอบคาตอบ ตอบคาถามเกี่ยวกับสิ่งที่
(สิ่งที่ต้องรู้จึงจะหาคาตอบได้) คาถามเกี่ยวกับสิ่งที่ เกี่ยวกับสิ่งที่ศึกษา ศึกษาค้นคว้าไม่ถูกต้อง
ศึกษาค้นคว้าได้ ค้นคว้าได้ถูกต้องเมื่อ หรือไม่ตอบ
ถูกต้องด้วยตนเอง ได้รับคาแนะนา
ขั้นที่ 4 สังเคราะห์ความรู้ สามารถระบุวิธี สามารถระบุวิธี ระบุผลที่ได้จากการ
(เลือกวิธีคิดหาคาตอบ) แก้ปัญหาได้ถูกต้อง แก้ปัญหาได้ถูกต้อง แก้ปัญหาไม่ถูกต้อง
ด้วยตนเอง เมื่อได้รับคาแนะนา หรือไม่ตอบ
ขั้นที่ 5 สรุปและประเมินค่าของคาตอบ สามารถหาคาตอบที่ สามารถหาคาตอบที่ ไม่สามารถเลือกวิธีการ
ถูกต้องและตรวจ ถูกต้องและตรวจ แก้ปัญหาได้
(หาและตรวจคาตอบ)
คาตอบได้ด้วยตนเอง คาตอบได้ เมื่อได้รับ
คาแนะนา
ขั้นที่ 6 นาเสนอและประเมินผลงาน สามารถเสนอวิธี สามารถเสนอวิธี ไม่สามารถแก้ปัญหาได้
(แก้ปัญหาได้บรรลุวัตถุประสงค์) แก้ปัญหาได้ถูกต้อง แก้ปัญหาได้ถูกต้อง
ด้วยตนเอง เมื่อได้รับคาแนะนา
สถานการณ์ที่ 2 เรื่อง “ล่องเรือ”
ชื่อกลุ่ม..................................................................
สมาชิกในกลุ่ม 1………………………………………………………………………………………. ห้อง...................เลขที่...............
2………………………………………………………………………………………. ห้อง...................เลขที่...............
3………………………………………………………………………………………. ห้อง...................เลขที่...............
4………………………………………………………………………………………. ห้อง...................เลขที่...............
5………………………………………………………………………………………. ห้อง...................เลขที่...............
สถานการณ์ปัญหา :
นักเรียนมีบ้านอยู่ริมแม่น้า นักเรียนต้องโดยสารเรือไปโรงเรียนตอนเช้าและกลับบ้านตอนเย็นทุกวัน ถ้า
เรือยนต์มี 3 ขนาด ขนาดใหญ่ 2 ลา ขนาดกลาง 4 ลา และขนาดเล็ก 3 ลา แต่ละลามีค่าโดยสารเที่ยวละ 10 บาท
5 บาท และ 2 บาทตามลาดับ มีวิธีเดินทางแบบใดได้บ้าง อย่างไร ถ้าในแต่ละวันนั กเรียนได้เงินมาโรงเรียน 50
บาท นักเรียนจะเลือกเดินทางแบบใด
กรอบแนวคิดในการศึกษาค้นคว้า
ปัญหาที่ต้องการศึกษาค้นคว้า คือ
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................... ...............................................
กรอบแนวคิด

ประเด็นที่ต้องศึกษา วิธีการศึกษาค้นคว้า/
ข้อมูล/ข้อเท็จจริง แนวทางในการแก้ปัญหา
เพิ่มเติม แหล่งค้นคว้า
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
จากการศึกษาค้นคว้าของกลุ่ม.................................................................................สรุปผล ดังนี้
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................ ........................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................ ....................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
วิธีหาคาตอบและสรุปคาตอบ
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................... .............................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................... .........
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................... .....................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
เอกสารหมายเลข 4
แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชา …………………………………………รหัสวิชา................................จานวน…………..…ชั่วโมง/สัปดาห์
ภาคเรียนที…่ …/………… ชั้นมัธยมศึกษาปีท…ี่ ………
ผู้สอน...........................……………….……….
ระดับคุณภาพ
ที่ รายการ
5 4 3 2 1
1 แผนการจัดการเรียนรู้สอดคล้องสัมพันธ์กับหน่วยการเรียนรู้ที่กาหนดไว้
2 แผนการจัดการเรียนรู้มีองค์ประกอบสาคัญครบถ้วนสัมพันธ์กัน
3 สาระสาคัญมีความสอดคล้องของกับมาตรฐานการเรียนรู้หรือตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้
4 จุดประสงค์การเรียนรู้พัฒนานักเรียนด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ สมรรถนะของผู้เรียน และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
5 กิจกรรมการเรียนรู้มีลาดับขั้นตอนเหมาะสมและเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
6 มีการใช้เทคนิค กระบวนการที่หลากหลายที่เร้าความสนใจในการนาเข้าสูก่ ระบวนการเรียนรู้
7 มีเทคนิคการสอนเหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพแวดล้อม
8 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียน
9 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมกระบวนการคิด การเสาะแสวงหาความรู้ของนักเรียน
10 มีการใช้สื่อหลากหลาย/สื่อ ICT ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
11 มีการ ใช้แหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาในการจัดกิจกรรม
12 การวัดผลและประเมินผลสอดคล้องกับตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้
13 มีวิธีการวัดผลและประเมินผลที่หลากหลาย
14 มีวิธีวัด เกณฑ์การวัด และเครื่องมือวัดชัดเจน
15 นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการวัดและประเมินผล
รวม
สรุประดับคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้

ระดับคุณภาพ 5 = ดีมาก 4 = ดี 3 = พอใช้ 2 = ควรปรับปรุง 1= ไม่ผ่านเกณฑ์


หมายเหตุ ใช้ Mode ในการตัดสินคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้
เกณฑ์การตัดสิน ต้องได้ระดับ 3 ขึ้นไป
ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ
....................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................

ลงชื่อ......................................................ผู้ประเมิน ลงชื่อ.............................................ผู้รับการประเมิน
(นางธัญญารัตน์ อินทร์อนันต์) (นางวารุณี เลิศล้า)
27 ส.ค. 2561 27 ส.ค. 2561

ลงชื่อ...................................................... ลงชื่อ...................................................................
(นางจันจีรา พาดี) (นางสาวพรพิมล แม้นญาติ)
หัวหน้ากลุ่มสาระฯคณิตศาสตร์ รองผู้อานวยการกลุ่มงานบริหารวิชาการ
28 ส.ค. 2561 28 ส.ค. 2561
เอกสารหมายเลข 5
วิพากษ์แผนการจัดการเรียนรู้
ผู้วิพากษ์
1. นางวารุณี เลิศล้า ครูต้นแบบการสอน (Model Teach)
2. นายสุริยา สุวรรณรัตน์ ครูคู่นิเทศ (Buddy Teacher)
3. นางสาวศรีประภา โค้วตระกูล พี่เลี้ยง (Mentor)
4. นางสุทธดา เหลืองห่อ ผู้บันทึกรายงานการประชุม (Recorder)
5. นางธัญญารัตน์ อินทร์อนันต์ ผู้เชี่ยวชาญ (Expert)

ประเด็นการวิพากษ์
1. รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
2. การมีส่วนร่วมของนักเรียน
3. การวัดและประเมินผล
4. สื่อการสอน
5. บทบาทของครูผู้สอน
ผลการวิพากษ์
จุดเด่น
1. รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน โดยใช้การกาหนดสถานการณ์เพื่อให้นักเรียนทา
แก้ไขสถานการณ์ในรูปแบบกิจกรรมกลุ่มเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์เป็นกิจกรรมที่น่าสนใจ ทาให้
ผู้เรียนมีส่วนร่วมและพัฒนาตนเองได้
2. นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนดีมาก
3. บทบาทของครูผู้สอนในการดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้กระตุ้นให้ผู้เรียนได้ฝึกและพัฒนาทักษะการคิด
วิเคราะห์
จุดด้อย
1. ควรให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้วย
สิ่งที่ควรปรับปรุง
1. การนาเสนอผลงานของนักเรียนควรเขียนลงในกระดาษบรู๊ฟและติดผลงานในพื้นที่รอบห้องเรียนเพื่อให้
เพื่อนร่วมชั้นเรียนได้เรียนรู้จากกลุ่มอื่นๆ และมีตัวแทนกลุ่มได้อธิบายผลงานของกลุ่ม นักเรียนหมุนเวียน
ดูการน าเสนอของกลุ่ มและให้คะแนนแต่ล ะกลุ่ มให้ กลุ่ มที่ได้รับคะแนนสู งสุด นาเสนอผลงาน ครูและ
นักเรียนที่เหลือร่วมอภิปราย
เอกสารหมายเลข 6

สังเคราะห์การวิพากษ์แผนการจัดการเรียนรู้

สิ่งที่ผู้วิพากษ์ให้ปรับปรุง
การนาเสนอผลงานของนักเรียนควรเขียนลงในกระดาษบรู๊ฟ และติดผลงานในพื้นที่รอบห้องเรียนเพื่อให้
เพื่อนร่วมชั้นเรียนได้เรียนรู้จากกลุ่มอื่นๆ และมีตัวแทนกลุ่มได้อธิบายผลงานของกลุ่ม นักเรียนหมุนเวียนดูการ
นาเสนอของกลุ่มและให้คะแนนแต่ละกลุ่มให้กลุ่มที่ได้รับคะแนนสูงสุดนาเสนอผลงาน ครูและนักเรียนที่เหลือร่วม
อภิปราย

ความเป็นไปได้ที่จะปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้
การดาเนินการสอนตามสิ่งที่ผู้วิพากษ์ให้ปรับปรุง สามารถปรับปรุงได้ แต่ไม่สะดวกในการให้นักเรียนเขียน
ลงในกระดาษบรู๊ฟ เนื่องจากสภาพห้องเรียนไม่เอื้อในการเขียนและนาเสนองาน จึงปรับปรุงโดยให้นักเรียนแต่ละ
กลุ่มบันทึกผลสรุปของกลุ่มลงในใบกิจกรรม และให้ทุกกลุ่มนาเสนอโดยใช้โปรเจกเตอร์ เนื่องจากมีเพียง 5 กลุ่ม
สามารถนาเสนอได้ครบทุกกลุ่มและให้กลุ่มที่เหลือให้คะแนนผลงานของกลุ่มอื่น

จะนาไปใช้สอนในรายวิชาคณิตศาสตร์พืนฐาน 3 รหัสวิชา ค 32101 เรื่องกฎเกณฑ์เบืองต้นเกี่ยวกับการนับ


ชันมัธยมศึกษาปีที่ 5 วันที่ 30 สิงหาคม 2561
เอกสารหมายเลข 7
แบบสังเกตการณ์จัดกิจกรรมการเรียนการสอน

ชื่อครูผู้สอน..................................................................................ห้องที่สอน............................................................
รายวิชา …………………………………รหัสวิชา................................เรื่อง....................................................................
วันที่..............................เดือน...........................พ.ศ........................….

ระดับคุณภาพ ข้อสังเกต
ที่ รายการ
5 4 3 2 1
1 ครูดาเนินการสอนตามลาดับของแผนการจัดการเรียนรู้
2 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลาย
3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผเู้ รียนฝึกค้นคว้า สังเกต รวบรวมข้อมูล
วิเคราะห์ คิดอย่างหลากหลายและสร้างสรรค์ สามารถสร้างองค์
ความรู้ได้ด้วยตนเอง
4 กระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็น ค้นคว้า แสวงหา
คาตอบด้วยตนเอง
5 ให้ผู้เรียนมีการเรียนรู้จากสื่อที่หลากหลายรูปแบบ
6 มีการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ให้แรงเสริมกับผูเ้ รียนในการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้
7 จัดบรรยากาศการเรียนรู้ที่ดึงดูดความสนใจ ก่อให้เกิดความสุข
และเพลิดเพลินแก่ผเู้ รียน
8 มีกระบวนการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง
9 มีเครื่องมือการวัดผลและประเมินผลที่มีคณ ุ ภาพ
10 การมีส่วนร่วมในการวัดผลและประเมินผล
รวม

ระดับคุณภาพ 5 = มากที่สุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = น้อย 1= ไม่ปฏิบัติ

สรุปเรื่องที่ต้องปรับปรุง

................................................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................................................

ข้อเสนอแนะในการนาผลการปรับไปปรุงพัฒนาให้ดีกว่าเดิม

................................................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ....................................................ผู้นิเทศการสอน
(นายสุริยา สุวรรณรัตน์
เอกสารหมายเลข 8
สรุปผลการดาเนินงาน PLC วงรอบที่ 2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์

สมาชิกกลุ่ม

ที่ ชื่อ-สกุล บทบาทหน้าที่ ลงลายมือชื่อ


1 นางวารุณี เลิศล้า ครูต้นแบบการสอน (Model Teach)
2 นายสุริยา สุวรรณรัตน์ ครูคู่นิเทศ (Buddy Teacher)
3 นางสาวศรีประภา โค้วตระกูล พี่เลี้ยง (Mentor)
4 นางสุทธดา เหลืองห่อ ผู้บันทึกรายงานการประชุม (Recorder)
5 นางธัญญารัตน์ อินทร์อนันต์ ผู้เชี่ยวชาญ (Expert)

วันประชุมกิจกรรม PLC ครั้งที่ 8 วันที่ 31 เดือน สิงหาคม พ.ศ 2561


สถานทีห่ ้องประชุมช่อชัยพฤกษ์ ตั้งแต่เวลา 15.20 น. – 16.20 น. จานวน 1 ชัว่ โมง
1. ประเด็น นักเรียนขาดกระบวนการคิดวิเคราะห์
2. กิจกรรมทีด่ าเนินการ
ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดตามแนวหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้
ปัญหาเป็นฐาน (PBL) ผสานหลักการทางานของศาสตร์พระราชา
3. ผลที่ได้จากกิจกรรม
- นักเรียนใช้ความรู้เกี่ยวกับกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับแก้ปัญหาหรือสถานการณ์ที่กาหนดให้ได้
- นักเรียนให้ความสนใจ และสามารถพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์โดยผ่านสถานการณ์ที่กาหนดให้ได้

4. การนาผลที่ได้ไปใช้
ควรนารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานไปใช้ในเนื้อหาอื่นด้วย เพื่อพัฒนาทักษะการคิด
วิเคราะห์ของนักเรียน
ลงชื่อ..........................................................ผู้บันทึก
(นางวารุณี เลิศล้า)

ลงชื่อ........................................................ ลงชื่อ..............................................
(นางจันจีรา พาดี) (นางสาวพรพิมล แม้นญาติ)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รองผู้อานายการกลุ่มบริหารงานวิชาการ

ว่าที่ร้อยตรี........................................................ผู้รับรอง
(ธงชัย ก้อนสันทัด)
ผู้อานายการโรงเรียนกบินทร์วิทยา
เอกสารหมายเลข 9

ภาพการดาเนินงาน PLC

รวมกลุ่ม PLC ทีมที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์


ร่วมกาหนดประเด็นปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียน

ส่งแผนการจัดการเรียนรู้ ร่วมวิพากษ์แผนการจัดการเรียน
รู และสังเคราะห์การวิพากษ์แผนการจัดการเรียนรู้

วิพากษ์การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และสรุปผลการดาเนินงาน
กิจกรรมดาเนินการสอน

นางวารุณี เลิศล้า ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะชานาญการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์


โรงเรียนกบินทร์วิทยา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7
ได้ความรู้ที่ได้จากการพัฒนามาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที 5 หัวข้อกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับ
การนับ ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ตามแนวหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้
ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) ผสานหลักการทางานของศาสตร์พระราชา ทาให้นักเรียนได้พัฒนาทักษะการ
แก้ปัญหา ทักษะการแสวงหาความรู้ ทักษะการสื่อความหมาย สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง และมีเจตคติที่ดีต่อการเรียน
คณิตศาสตร์มากขึ้น
จบการดาเนินงานวงรอบที่ 2

You might also like