You are on page 1of 9

แบบฟอร์มประมวลการสอน ตอนที่ 1

ประมวลการสอน (Course Syllabus)

1. รหัสวิชา คศ. 132


2. ชื่อวิชา (ภาษาไทย) สื่อและเทคโนโลยีการศึกษา
(ภาษาอังกฤษ) Media and Technology Education
3. จำานวนหน่วยกิต 3(3-0-3)
4. ภาคการศึกษา ปลาย
5. ปี การศึกษา 2552
6. ผู้รับผิดชอบรายวิชา อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย
7. ลักษณะวิชา หนวดวิชาเฉพาะสาขา
8. ชื่อหลักส้ตร ศิลปศาสตรบัณฑิต (คริสตศาสนศึกษา)
9. วิชาระดับ ระดับชั้นปี ที่ 2-3
10. จำานวนชัว่ โมงที่สอน/สัปดาห์ 3 คาบ/สัปดาห์
11. วัน/เวลาที่สอน วันศุกร์ เวลา 8.30 - 11.30 น.
12. คำาอธิบายรายวิชา (Course description)
ศึกษาชนิ ดและประเภทของสื่อมวลชนแขนงต่างๆ วิธีการใช้และ
การผลิตสื่อชนิ ดต่างๆ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ถึงผลกระทบของสื่อที่มี
ต่อสังคมปั จจุบัน

13. วัตถุประสงค์ทั่วไปและ/หรือวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
วัตถุประสงค์ทั่วไป (Course General)
1. นั กศึกษามีความรู้ความเขูาใจ เรื่อง ความหมาย ขอบข่าย ความ
สำาคัญของเทคโนโลยีและนวัตกรรมศึกษาต่อการเรียนการสอน วิธี
ระบบ กระบวนการสื่อความหมาย การจำาแนก ประเภทของ
สื่อมวลชนและสื่อการเรียนการสอน การเลือกใชูส่ ือเทคโนโลยีและ
นวัตกรรมการศึกษาที่เหมาะสมกับการเรียนการสอนตลอดจนการ
ประเมินผล
-2-

2. นั กศึกษาสามารถปฏิบัติการจัดหา ผลิต ใชูและเก็บรักษาสื่อการ


เรียนการสอน
3. นั กศึกษามีเจตคติท่ีดีต่อการเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีการศึกษา
แนะนำ าไปใชูไดูเป็ นประโยชน์ต่อการเรียนการสอน

วัตถุประสงค์ของวิชา (Course of Objectives)


1. ใหูเขูาใจความหมาย ขอบข่าย ความสำาคัญและบทบาทของ
เทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาต่อการเรียนการสอน
2. ใหูเขูาใจความหมาย คุณค่า ประเภท หลักการจัดหา การเลือก
การผลิต และการใชูส่ ือการเรียนการสอนและสื่อมวลชนไดูอย่าง
เหมาะสม
3. ให้เข้าใจหลักจิตวิทยาการรับร้้ การเรียนร้้ และจิตวิทยา
พัฒนาการ ซึ่งเป็ นพื้ นฐานของกระบวนการสื่อความหมายและ
การเรียนการสอน
4. ให้เข้าใจหลักการนำาเอาวิธีระบบมาใช้เพื่อให้การจัดการศึกษา
และการเรียนการสอนดำาเนิ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
5. ให้เข้าใจหลักการเลือกใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาที่
เหมาะสมกับการเรียนการสอน

14. กำาหนดการเรียนการสอนต่อสัปดาห์ (Course Outline)


สัปดา การ หมายเห
วันที่ หัวขูอการบรรยาย ผู้สอน
ห์ที่ ประเมินผล ตุ
1 6 พ.ย. แนะนำารายวิชา/และกิจกรรมที่ อ.สุจิตตรา การสังเกต

52 จะเรียนตลอดภาคเรียน มอบ จันทร์ลอย


หมายใหูศึกษาคูนควูาทำา
รายงานเอกสารที่เกี่ยวขูอง
2 11 พ.ย. ความหมายของเทคโนโลยีและ อ.สุจิตตรา การสังเกต
เทคโนโลยีการศึกษา การร่วม
52 จันทร์ลอย กิจกรรม
3 20 พ.ย. ความหมายของเทคโนโลยีการ อ.สุจิตตรา การสังเกต
ศึกษาและนวัตกรรมทางการ การร่วม
-3-

52 ศึกษา บทบาทและการนำ าไปใชู จันทร์ลอย กิจกรรม


การซักถาม
4 27 สื่อมวลชนและสื่อการสอนทุก อ.สุจิตตรา การสังเกต
แขนง การซักถาม
พ.ย. 52 จันทร์ลอย แบบฝึ กทูาย
บท
5 4 ธ.ค. จิตวิทยาการรับรู้ การเรียนรู้ ผศ.วิวรรธน์ จันทร์ การสังเกต
และจิตวิทยาพัฒนาการ การซักถาม
52 เทพย์ การมีส่วน
หัวหน้าภาควิชา ร่วม

เทคโนโลยีการ
ศึกษา ม.ราชภัฏ
หม่้บา้ นจอมบึง
6 11 ธ.ค. วิธก
ี ารผลิตสื่อกราฟิ กเพื่อการ อ.สุจิตตรา การสังเกต
ศึกษา การซักถาม
52 จันทร์ลอย การร่วม
กิจกรรม
ผลงานจาก
การปฏิบัติ
7 18 ธ.ค. สอบย่อย ระหว่างเรียน อ.สุจิตตรา การสังเกต
ผลสอบ
52 จันทร์ลอย
8 8 ม.ค. นำาเสนอการศึกษาค้นคว้าเพิ่ม อ.สุจิตตรา การสังเกต
การมีส่วน
53 เติม (3 กลุ่ม) จันทร์ลอย ร่วม
อ.ลัดดาวรรณ์ การอภิปราย

ประส้ตร์แสงจันทร์
9 15 ม.ค. นำาเสนอการศึกษาค้นคว้าเพิ่ม อ.พิเชษฐ ร้งุ ลา การสังเกต
การมีส่วน
53 เติม (3กลุ่ม) วัลย์ ร่วม
อ.สุจิตตรา การ
อภิปราย
จันทร์ลอย
10 22ม.ค. สื่อคอมพิวเตอร์และการตกแต่ง อ.สุจิตตรา การสังเกต
ภาพ การมีส่วน
53 จันทร์ลอย ร่วม
การอภิปราย

11 29ม.ค. ฝึ กปฏิบต
ั ิ อ.สุจิตตรา การสังเกต
การซักถาม
53 จันทร์ลอย การร่วม
-4-
กิจกรรม
ผลงานจาก
การปฏิบัติ
12 5 ก.พ. ฝึ กปฏิบัติ อ.สุจิตตรา การสังเกต
การซักถาม
53 จันทร์ลอย การร่วม
กิจกรรม
ผลงานจาก
การปฏิบัติ
13 12 ฝึ กปฏิบัติ อ.สุจิตตรา การสังเกต
การมีส่วน
ก.พ. จันทร์ลอย ร่วม
53 การอภิปราย

14 19 การจัดนิ ทรรศการ 4 กลุ่มใหญ่ อ.สุจิตตรา การสังเกต


การมีส่วน
ก.พ. จันทร์ลอย ร่วม
53 อ.พิเชษฐ ร้งุ ลา การอภิปราย

วัลย์
อ.ลัดดาวรรณ์ ประ
ส้ตร์แสงจันทร์
15 26 สรุปเนื้ อหาภาพรวมทั้งหมด อ.สุจิตตรา การสังเกต
การซักถาม
ก.พ. จันทร์ลอย
53

15. สื่อและอุปกรณ์การสอน
การลงมือปฏิบัติการผลิตและทดลองใชูส่ ือหลายร้ปแบบ เช่น สื่อ
กราฟิ ก สื่อคอมพิวเตอร์ สื่อกิจกรรมประเภทนิ ทรรศการ สื่อวีดิทัศน์

16. กิจกรรมการเรียนการสอน
กระบวนการเรียนการสอนในวิชานี้เนู นใหูผู้เรียนเกิดการเรียนรูจ้ าก
การมีส่วนร่วมดูวยการสังเกต ตอบคำาถาม อภิปราย ทำารายงาน ศึกษา
คูนควูา การลงมือปฏิบัติการผลิตและทดลองใชูส่ ือหลายร้ปแบบ เช่น สื่อ
กราฟิ ก สื่อคอมพิวเตอร์ สื่อกิจกรรมประเภทนิ ทรรศการ เป็ นตูน
การเชิญวิทยากรพิเศษ
1) ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิวรรธน์ จันทร์เทพย์ จำานวนชัว่ โมงที่สอน
3 ชัว่ โมง
-5-

17. การวัดผลการเรียน
การวัดและประเมินผลอัตราส่วนคะแนน 70 : 30 โดยแบ่ง 2
ส่วนดังนี้
คะแนนเก็บระหว่างภาคเรียน 70
คะแนน
17.1 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน 5
คะแนน
17.2 รายงานการศึกษาคูนควูา 20
คะแนน
17.2.1 คะแนนรายงานการนำ าเสนอ ( 6 กลุ่ม)
10 คะแนน
17.2.2 คะแนนรายงานการศึกษา คูนควูา
10 คะแนน
17.2.2.1 ความถ้กตูอง ครบถูวนของการสรุปการบรรยาย
5 คะแนน
17.2.2.2 ความสอดคลูอง ทันสมัย และประโยชน์ของ
เนื้ อหา(เพิ่มเติม)
การอูางอิงและสรูางสรรค์ 5
คะแนน

17.3 การผลิตตัวอักษรหัวเรื่องสีไมู 10
คะแนน
17.4 การผลิตสื่อคอมพิวเตอร์ (presentation) 15
คะแนน
17.5 การสรูางสรรค์ส่ ือปู ายนิ เทศ (งานกลุ่ม) 20
คะแนน
-6-

คะแนนสอบปลายภาคเรียน 30 คะแนน

18. เกณฑ์การประเมิน

คะแนน (รูอยละ) เกรด

85-100 A
81-84 B
+

75-80 B
65-74 C
+

55-64 C
50-54 D
+

45-49 D
0-44 F

19. หนังสือ/เอกสาร สำาหรับอ่านประกอบ


กิดานั นท์ มลิทอง. เทคโนโลยีการศึกษาร่วมสมัย. พิมพ์ครัง้ ที่ 2
กรุงเทพมหานคร: เอดิสันเพลส
โพรดักซ์ จำากัด, 2536.
กิดานั นท์ มลิทอง. เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. กรุงเทพฯ: สำานั ก
พิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย 2540.
-7-

เกรียงศักดิ ์ เจริญวงศ์ศักดิ .์ การจัดการเครือข่าย: กลยุทธส่้ความสำาเร็จของ


การปฏิร้ปการศึกษา.
กรุงเทพฯ: ชัคเชสมีเดีย, 2543.
ชลิยา ลิมปิ ยากร. เทคโนโลยีการศึกษา. พิมพ์ครัง้ ที่ 2 กรุงเทพมหานคร:
พิศิษฐ์การพิมพ์, 2536
ไชยยศ เรืองสุวรรณ. เทคโนโลยีการศึกษา : หลักการและแนวปฏิบัติ.
กรุงเทพมหานคร: วัฒนา พานิ ช,2526
ธีราวุธ ปั ทมวิบ้ลย์และคณะ ความรู้เบื้องตูนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์.
่ , 2545.
กรุงเทพฯ: โปรวิชัน
ถนอมพร (ตันพิพัฒน์)เลาหจรัสแสง. Design e-Learning หลักการ
ออกแบบและการสร้างเว็บเพื่อ
การเรียนการสอน. จังหวัดเชียงใหม่ : มหาวิทยาลัย
เชียงใหม่, 2545.
ทวีศักดิ์ กาญจนสุวรรณ. Multimedia ฉบับพื้ นฐาน. กรุงเทพฯ : เคที
พี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์, 2546.
ปรีดา ยังสุขสถาพร. Essentials of Creating Innovation Company :
วิถีส่้แก่นแทูองค์กรแห่งนวัตกรรม. กรุงเทพฯ : สถาบันเพิ่ม
ผลผลิตแห่งชาติ, 2551.
ปิ พนิ ดา พานิ ชกุล. เทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพฯ : เคทีพี คอมพ์
แอนด์ คอนซัลท์, 2548.
วิทยา เรืองพรวิสุทธิ ์ เรียนรู้อินทราเน็ตระบบเครือข่ายองค์กรยุคใหม่.
่ ,
กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดย้เคชัน 2542.
วิเศษศักดิ ์ โคตรอาศาและคณะ. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู.้
กรุงเทพฯ: คอมฟอร์ม 2542.
วิวรรธน์ จันทร์เทพย์. เอกสารประกอบการสอนวิชาเทคโนโลยีการศึกษา.
คณะครุศาสตร์ สถาบัน
-8-

ราชภัฏหม่้บาู นจอมบึง ราชบุร,ี 2543


วารินทร์ รัศมีพรหม. สื่อการสอนเทคโนโลยีการศึกษาและการสอนร่วม
สมัย. กรุงเทพมหานคร: ชวนพิมพ์, 2531
สานิ ตย์ กายาผาด, ไชยา ภาวบุตร และสุรศิลป์ ม้ลสิน. เทคโนโลยี
สารสนเทศเพื่อชีวิต.
กรุงเทพฯ: คอมฟอร์ม 2542.
สุธี พงศาสกุลชัย. เว็บเทคโนโลยี (Web Technology). กรุงเทพฯ :
เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์, 2551.
สมบ้รณ์ สงวนญาติ. เทคโนโลยีทางการเรียนการสอน.
กรุงเทพมหานคร: กรมการศาสนา, 2534
สำานั กงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. แนวทางการใช้เทคโนโลยี
ทางการศึกษาตาม พรบ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542.
กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟิ กจำากัด, 2542
อวยพร โกมลวิจิตรกุล. ครบวงจรตัดต่อวิดีโออย่างมืออาชีพ Premiere
Pro, Ulead VideoStudio7 & After Effects. กรุงเทพฯ :
สวัสดี ไอที, 2547.
อัศวิน โอกาด้า. สรูางงานแอนิ เมชันใหูมีชีวิตดูวย Flash Basic.
กรุงเทพฯ : โรงเรียนอินเทอร์เน็ตและการออกแบบ
(NetDesign), 2551.

Dick, W., & Carey, L. The Systematic Design of Instruction


th
(4 ed.). New York Harper
Collins College Publishes. 1996.
Gagne,R.M.,Briggs. L.J.,&Wager, w.w. Principles of
th
Instructional Design (4 Ed.).
-9-

New York:Holt, Rinehart and Winston, 1992.


Heinich R.Molenda M.and Russell J. Instructional Media and
New Technology of Instruction.
Macmillan Publishing: New York, 1989.
Kemp, I.B., Morrison, G.R., & Ross, S.M. Designing Effective
Instruction. New York : Merrill,
1994.
.
20. ที่อย่้ของผู้สอน : อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย
ห้องทำางาน อาคารหอสมุดชั้นล่าง เบอร์โทรศัพท์ภายใน : 0-
2429-0100-3 ต่อ 624
เบอร์
โทรศัพท์มือถือ : 089-8216240
e-mail : chantra3008@gmail.com, weblog
: joylunch.blogspot.com

You might also like