You are on page 1of 25

รายงานผลการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1

( Internship 1 )

ชื่ อ-สกุล นักศึกษา นางสาวแวอาลีฟา เจ๊ ะยะ


รหัสนักศึกษา 406616009
ชั้นปี ที่ 1
สาขาวิชา การสอนอิสลามศึกษา

โรงเรียนหน่ วยฝึ ก โรงเรียนบ้ านบุดี


อาเภอ เมืองยะลา จังหวัด ยะลา

ภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา 2566


คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
คำนำ

รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศึกษา 1
ชั้นปีที่ 1 เพื่อให้ได้ศกึ ษาหาความรู้ในเรื่องปฏิบัตกิ ารสอนของสถานศึกษาและ
ได้ศึกษาอย่างเข้าใจเกี่ยวกับประสบการณ์ในวิชาชีพครูเพื่อเป็นประโยชน์กับการ
เรียนรู้และนำไปปรับใช้ต่อไปในอนาคต
ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้ให้ความ
สนใจหรือนักศึกษาทีก่ ำลังค้นคว้าข้อมูลเกีย่ วกับการปฏิบัตกิ ารสอนใน
สถานศึกษา หากมีข้อแนะนำหรือผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำข้อน้อมรับไว้
และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย

( นางสาว แวอาลีฟา เจ๊ะยะ )


นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1
สารบัญ

คำนำ หน้า
ตอนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับนักศึกษา 1
ตอนที่ 2 ข้อมูลจากการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 2
กิจกรรมที่ 1 การศึกษาและสังเกตงานในหน้าที่ครู 3
กิจกรรมที่ 2 การศึกษาสังเกตและการมีส่วนร่วมประจำวัน 5
กิจกรรมที่ 3 การศึกษาและสังเกตบุคลิกภาพของครู 8
กิจกรรมที่ 4 สภาพทั่วไปของสถานศึกษา 11
กิจกรรมที่ 5 บริบทชุมชน และความสัมพันธ์ระหว่าง 14
สถานศึกษาและชุมชน
กิจกรรมที่ 6 การศึกษาและสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน 16
กิจกรรมที่ 7 การศึกษาหลักสูตรสถานศึกษา 18
กิจกรรมที่ 8 การศึกษาและสังเกตกระบวนการ pcl ของโรงเรียน 19
กิจกรรมที่ 9 การทบทวนหลังปฏิบัติงาน 20
ภาคผนวก 21

•••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••
ตอนที่ 1
1

ข้ อมูลเกีย่ วกับนักศึกษา

ชื่อนักศึกษา นางสาวแวอาลีฟา เจ๊ะยะ รหัสนักศึกษา 406613002


เกิดวันที่ 11 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2547 ศาสนา อิสลาม
สาขาวิชา วิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร์ทั่วไป
ภูมิลำเนา บ้านเลขที่ 20/1 ถนน - หมู่ที่ 4
ตำบล ไม้แก่น อำเภอ ไม้แก่น จังหวัด ปัตตานี
รหัสไปรษณีย์ 94220 โทรศัพท์ 0631537545
การศึกษา สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
วุฒิการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
จากโรงเรียน ดรุณศาสตร์วิทยา ตำบล ตะลุบัน
อำเภอ สายบุรี จังหวัด ปัตตานี

ความสามารถพิเศษ ทำอาหาร และวาดรูป


เพื่อนสนิทที่ศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
1. ชื่อสกุล อัสนะห์ ดีเยาะ สาขาวิชา การสอนอิสลามศึกษา

ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ ดร.ปัทมา พิศภักดิ์


ชื่ออาจารย์นิเทศประจำหลักสูตร อาจารย์ ดร.ปัทมา พิศภักดิ์
ชื่อครูพี่เลี้ยง นางนิชา ธรรมสะโร
2

ตอนที่ 2
ข้ อมูลจากการฝึ กประสบการณ์ วชิ าชีพครู
3

INT 101
กิจกรรมที่ 1
การศึกษาและสั งเกตงานในหน้ าที่ครู

คำชี้แจง ให้นักศึกษาบันทึกงานในหน้าที่ครูในช่วงเวลาต่างๆ ในแต่ละวัน


วัน/เดือน/ปี งานในหน้าที่ครู หมายเหตุ
30 / 10 / 66 -เช้าวันแรกครูและบุคลากรทั้งหมดรวมกันทำความสะอาด
และเคลียร์อุปกรณ์ต่างๆ ภายในโรงเรียน
31 / 10 / 66 - -หยุดการเรียนการ
สอน
01 / 11 / 66 -วันแรกในการเปิดเทอม
-เข้าสอนตามรายวิชาต่างๆ
-ครูทบทวนเนื้อหาให้กับนักเรียน
02 / 11 / 66 -เข้าสอนตามรายวิชาต่างๆ
-จัดทำเอกสาร
-คุมโรงอาหาร ตักข้าวเที่ยง จัดระเบียบนักเรียน
03 / 11 / 66 -ศึกษาเนื้อหาวิชาที่จะสอน
-ตรวจงานตรวจการบ้านนักเรียน
06 / 11 / 66 -สอนชั้นป1และป2รายวิชาวิทยาศาสตร์
-สอนวิชาประวัติศาสตร์ชั้นป.1
07 / 11 / 66 -เข้าสอนตามรายวิชาต่างๆ
-คุมละหมาดนักเรียน

08 / 11 / 66 -สอนป.3วิชาวิทยาการ
-ติวโอเน็ตป.6
-สอนป.5 รายวิชาวิทยาศาสตร์
-สอนป.1รายวิชาวิทยาศาสตร์
4

09 / 11 / 66 -สอนวิทยาศาสตร์ป.5
-ติวข้อสอบ o-net
-จัดอาหารให้แก่เด็กๆ
10 / 11 / 66 -เตรียมเอกสารการสอน
-สอนป.5 วิชาวิทยาศาสตร์
-ทำเอกสาร
13 / 11 / 66 -เตรียมเอกสารการสอน
-สอนวิทยาศาสตร์ป.3 และป.1
-สอนวิชาประวัติศาสตร์ป.1
-คุมเด็กในโรงอาหารขณะกินข้าว
14 / 11 / 66 -เตรียมข้อมูลที่จะติว O-net
-สอนป.6 ติวโอเน็ต
-คุมเด็กในโรงอาหารขณะกินข้าว
15 / 11 / 66 -เวรหน้าประตู
-สอนป.3วิชาวิทยาการ
-สอนป.6 ติวโอเน็ต
-สอนป.5 รายวิชาวิทยาศาสตร์
16 / 11 / 66 -สอนวิทยาศาสตร์ป.5
-ติวข้อสอบ o-net
-จัดอาหารให้แก่เด็กๆ
17 / 11 / 66 -เตรียมเอกสารการสอน
-สอนวิทยาศาสตร์ป.3 และป.1
-สอนวิชาประวัติศาสตร์ป.1
-คุมเด็กในโรงอาหารขณะกินข้าว

ลงชือ่ …………………………..
(นางนิชา ธรรมสะโร) ครูพี่เลี้ยง
5

INT 102
กิจกรรมที่ 2
การศึกษาสังเกตและการมีส่วนร่ วมประจาวัน

คำชี้แจง ให้นักศึกษาบันทึกรายการปฏิบัติงานประจำวันว่าได้ใช้เวลาไปในการฝึกประสบการณ์
วิชาชีพครูอะไรบ้าง โดยเขียนรายการปฏิบัติงานทุกวันเป็นต้นว่า ได้อ่าน ได้ฟัง ได้สัมภาษณ์ใครได้
ช่วยปฏิบัติงานอะไรที่ไหนอย่างไร โดยย่อเป็นอนุทิน

วัน/เดือน/ปี รายการปฏิบัติงานประจำวัน หมายเหตุ


30 / 10 / 66 - ลา เนื่องจากไม่
สบาย
31 / 10 / 66 - -หยุดการเรียนการ
สอน
01 / 11 / 66 -คุมแถวนักเรียนหน้าเสาธง
-กิจกรรมสันทนาการร่วมสนุกกับเด็กอนุบาล
-เข้าสังเกตครูพี่เลี้ยงสอนวิทยาศาสตร์ชั้นป.1
-พาเด็กไปกินข้าวที่โรงอาหาร
-สังเกตครูที่สอนอนุบาล
รอผู้ปกครองมารับเด็กอนุบาล
02 / 11 / 66 -คุมแถวนักเรียนหน้าเสาธง
-เข้าสังเกตครูพี่เลี้ยงสอนวิทยาศาสตร์ชั้นป.4
-จัดแถวเด็กเดินไปกินข้าวที่โรงอาหาร
-สังเกตครูพี่เลี้ยงติวโอเน็ตวิทยาศาสตร์ชั้นป.6
-จัดแถวหลังเลิกเรียนและปล่อยนักเรียนกลับบ้าน
03 / 11 / 66 -เขียนใบเสร็จค่าอุปกรณ์การเรียน
-เข้าสังเกตครูพี่เลี้ยงสอนวิทยาศาสตร์ชั้นป.4 และป.5
-จัดห้องอนุบาล
-ช่วยไปดูแลนักเรียนชั้นป.3 และเขียนเนื้อหาบนกระดาน
ตามที่ครูกำหนดไว้
6

06 / 11 / 66 -เข้าสังเกตครูพี่เลี้ยงสอนวิทยาศาสตร์ชั้นป.6
-เข้าสังเกตชั้นป.3
-เข้าสังเกตชั้นป.1วิชาวิทยาศาสตร์
-กล่อมเด็กอนุบาลนอน
07 / 11 / 66 -คุมเด็กอนุบาล
-คุมเด็กป.3
-คุมเด็กป.1
-ตักข้าวช่วยแม่ครัวและขายขนมในสหกร
08 / 11 / 66 -เวรหน้าประตู
-สังเกตครูพี่เลี้ยงสอนป.3วิชาวิทยาการ
-สังเกตครูพี่เลี้ยงสอนป.6 ติวโอเน็ต
-สังเกตครูพี่เลี้ยงสอนป.5 รายวิชาวิทยาศาสตร์
-สังเกตครูพี่เลี้ยงสอนป.1รายวิชาวิทยาศาสตร์
-ปถมพยาบาลเด็กที่ล้ม
-คุมเด็กป1
09 / 11 / 66 -สังเกตครูพี่เลี้ยงสอนวิทยาศาสตร์ป.5
-สังเกตครูพี่เลี้ยงสอนติวข้อสอบ o-net
-จัดอาหารให้แก่เด็กๆ
10 / 11 / 66 -เตรียมเอกสารการสอน
-สังเกตครูพี่เลี้ยงสอนป.5
-สังเกตครูพี่เลี้ยงทำเอกสาร
13 / 11 / 66 -เตรียมเอกสารการสอน
-สังเกตครูพี่เลี้ยงสอนวิทยาศาสตร์ป.3 และป.1
-สังเกตครูพี่เลี้ยงสอนวิชาประวัติศาสตร์ป.1
-คุมเด็กในโรงอาหารขณะกินข้าว
14 / 11 / 66 -สังเกตครูเตรียมข้อมูลที่จะติว O-net
-สังเกตครูพี่เลี้ยงสอนป.6 ติวโอเน็ต
-คุมเด็กในโรงอาหารขณะกินข้าว
7

15 / 11 / 66 -เวรหน้าประตู
-สังเกตครูพี่เลี้ยงสอนป.3วิชาวิทยาการ
-สังเกตครูพี่เลี้ยงสอนป.6 ติวโอเน็ต
-สังเกตครูพี่เลี้ยงสอนป.5 รายวิชาวิทยาศาสตร์
-สังเกตครูพี่เลี้ยงสอนป.1รายวิชาวิทยาศาสตร์
16 / 11 / 66 -สังเกตครูพี่เลี้ยงสอนวิทยาศาสตร์ป.5
-สังเกตครูพี่เลี้ยงสอนติวข้อสอบ o-net
-จัดอาหารให้แก่เด็กๆ
17 / 11 / 66 -สังเกตครูเตรียมเอกสารการสอน
-สังเกตครูพี่เลี้ยงสอนวิทยาศาสตร์ป.3 และป.1
-สังเกตครูพี่เลี้ยงสอนวิชาประวัติศาสตร์ป.1
-คุมเด็กในโรงอาหารขณะกินข้าว

ลงชื่อ…………………………..
(นางนิชา ธรรมสะโร ) ครูพี่เลี้ยง
17/11/66
8

INT 103
กิจกรรมที่ 3
การศึกษาและสั งเกตบุคลิกภาพของครู

คำชี้แจง ให้นักศึกษาบันทึกผลการศึกษาและสังเกตบุคลิกภาพของครูในประเด็นต่อไปนี้
1. ความมีบคุ ลิกภาพภูมิฐานสมกับความเป็นครู
1.1 การแต่งกาย
แต่งกายสะอาด สุภาพเรียบร้อย ประณีต แต่งกายด้วยเสื้อที่มีสีไม่ฉูดฉาดมากเกินไป ไม่เน้น
เสื้อที่มีสีสันมากเกินไป แต่งกายตามที่โรงเรียนได้กำหนดไว้ ส่วนใหญ่สีของชุดในแต่ละวันจะตามสีของ
แต่ละวันในสัปดาห์

1.2 การควบคุมอารมณ์
คุณครูจะมีอารมณ์ตามสถานภาพของในแต่ละวัน แต่สามรถควบคุมอารมณ์ของตนเองได้ดี
แต่บางเวลาหรือบางสถานการณ์ที่ครูมีอารมณ์ขึ้น แต่มีเหตุผลพอ เพื่อให้เด็กตั้งใจโฟกัสกับเนื้อหาที่
กำลังสอน ครูเข้าใจบริบทของผู้เรียนได้ดีและสามารถรับมือกับนักเรียนตรงตามสถานการณ์ รับฟังความ
คิดเห็นของนักเรียนได้ดี ชอบชมเมื่อเด็กทำในสิ่งที่ดีและถูกต้อง

1.3 การพูดจา
คุณครูมีเสียงที่ดัง แต่ยืดหยุ่นอารมณ์ในการพูดออกมาเสมอ เพื่อรับมือกับปัญหาที่เกิด
ขึ้นกับนักเรียน เปลี่ยนบท เปลี่ยนอารมณ์ได้เร็ว สิ่งสำคัญคือการเลือกใช้คำพูดที่เหมาะสม ไม่กระทบกับ
ความรู้สึกของผู้เรียนมากจนเกินไป ทุกครั้งที่มีปัญหาครูก็จะใช้เหตุผลในการพูดแต่จะใช้เสียงที่อาจจะฟัง
แข็งไปหน่อย แต่มักทบทวนคำพูดและการกระทำของตนอยู่ตลอดเวลา

1.4 กิริยามารยาท
ครูมีสัมมาคารวะต่อผู้ปกครอง ผู้อวุโสกว่า เพื่อนร่วมงานเป็นอย่างมาก ครูมักแสดงถึง
มารยาทอันดีงามให้เห็นได้อย่างชัดเจนมาก ครูชอบยิ้มและทักทายเมื่อพบเจอหรือเดินสวนทางกัน
ภายในโรงเรียน
9

2. ความเป็นวิถีชีวิตแบบครู
2.1 การศึกษา ค้นคว้า และพัฒนาความรู้
ครูหมั่นศึกษาและทำความเข้าใจกับสื่อการสอนที่ใหม่ๆจากแหล่งความรู้ต่างๆ เช่น ตำรา
หนังสือ อินเทอร์เน็ต เป้นต้น อันเนื่องในยุค 4.0 ครูในศตวรรษที่ 21 จึงจำเป็นที่จะต้องศึกษา ค้นคว้า
ข้อมูลต่างๆจากตำราเรียนและแหล่งอินเทอร์เน็ต เพื่อให้ได้รับข้อมูลจากแหล่งที่หลากหลาย สามารถ
นำมาใช้ในการจัดทำสื่อการเรียนการสอนในชั้นเรียนได้หลากหลายรูปแบบเพื่อให้มีแรงดึงดูดในการ
เรียนรู้ของนักเรียน ครูชอบอ่านหนังสือหาความรู้เพิ่มเติมสม่ำเสมอ ชอบหากิจกรรมที่สอดคล้องกับ
เนื้อหาที่จะทำการสอนเด็กเพื่อให้เด็กเกิดความสนใจ มีแรงจูงใจ สนุก ไม่น่าเบื่อกับตัวบทของเนื้อหา

2.2 การดำเนินชีวิตในโรงเรียน เช่น การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ การทำงาน เป็นต้น


2.2.1 การทำงาน
ครูทำงานอย่างมีขั้นตอน มีระบบระเบียบตามแบบแผน มีความรอบคอบในเนื้อหา
2.2.2 การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ครูมักทบทวนเนื้อหาและทบทวนบทเรียนใหม่ๆเรื่องที่จะไปสอนนักเรียน เตรียมการสอน
อยู่เสมอ ครูชอบเข้าหาเด็กถามทุกข์สุขของเด็ก
2.2.3 รักษาสุขภาพกาย
ครูมีความเรียบร้อย สะอาด มีร่างกายที่แข็งแรงสมส่วน มักจะทานแต่ของมีประโยชน์ เช่น
ผลไม้ ผักและนม เป็นต้น
2.2.4 รักษาสุขภาพจิต 2
ครูมักจะเข้าหาเด็กประจำ ครูมีจิตใจที่เมตตาต่อเด็กนักเรียนทุกคน
2.2.5 ประหยัด เรียบร้อย มีวินัย
ครูใช้จ่ายออกไปทุกครั้งอย่างมีเหตุและผล คำนึงถึงความจำอยู่ทุกมื้อ ครูมักสอนให้เด็ก
นักเรียนรู้ใช้จ่ายอย่างประหยัดและใช้สิ่งของอย่างประหยัด มีวินัย มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ พูดจาน่า
ฟัง รักษาสัญญาที่ได้รับมอบหมายเป็นอย่างดี

3. ข้อสังเกตอื่นๆ
ครูมีเสียงที่ดังฟังชัด และเวลาไม่พอใจกับเด็กนักเรียนมักจะใช้เสียงในการตักเตือนและสั่งสอน
ทำให้เด็กนักเรียนกลัวกับเสียงที่ตนได้แสดงออกมา แต่กับเพื่อนร่วมงานหรือบุคคลอื่นๆ ครูมักใช้เสียง
สองที่น่าฟังและน่าเข้าหา
10

4. ภาพประกอบ
11

INT 104
กิจกรรมที่ 4
สภาพทั่วไปของสถานศึกษา

คำชี้แจง ให้นักศึกษาบันทึกผลการศึกษาและสังเกตสภาพทั่วไปของสถานศึกษาในหัวข้อที่กำหนด
และจัดทำคลิปวิดีโอเกี่ยวกับสถานศึกษา คนละ 1 วิดีโอ ใช้เวลาไม่เกิน 5 นาที
1. ชื่อสถานศึกษา โรงเรียนบ้านบุดี สังกัด สำนักงานการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ยะลาเขต 1
2. สถานที่ตั้ง 64/5 หมู่ที่ 8 บ้านบุดี ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดนราธิวาส
รหัสไปรษณีย์ 95000
3. โทรศัพท์ 0-73720210 โทรสาร –
4. ชื่อหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้อำนวยการสถานศึกษา
นายอับดุลรอแม ตอเละ ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านบุดี
5. ชื่อรองผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือผู้รักษาในตำแหน่ง
นางซากีเราะห์ บาเหะ รักษาตำแหน่งงานบริหารวิชาการ
นางอาสะน๊ะ มัคอาน รักษาตำแหน่งงานบริหารบุคคล
นางพรรณี ฐานานุกรม รักษาตำแหน่งงานบริหารงบประมาณ
นางนิชา ธรรมสะโร รักษาตำแหน่งงานบริหารทั่วไป
6. คติพจน์/ปรัชญาสถานศึกษา
สร้างปัญญา แก้ปัญหา ประสานสัมพันธ์
7. ประวัติความเป็นมาของสถานศึกษาโดยสังเขป
เริ่มสร้างขึ้นโดยความร่วมมือของศึกษาธิการอำเภอเมืองยะลา กับประชาชนในหมู่บ้านบริจาค
ที่ดินและวัสดุสมทบกับเงินงบประมาณจากกองการศึกษาประชาบาล กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษา
ธิการ จำนวน 5,000 บาท สร้างอาคารชั่วคราว 1 หลัง เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2500 มีนายประสิทธิ์ สนิท
พันธ์ เป็นครูใหญ่
ปี พ.ศ. 2506 ได้รับงบประมาณ 20,000 บาท สร้างอาคารเด็กเล็ก แบบวาตะภัย 1 หลัง
ปี พ.ศ. 2519 ได้รับงบประมาณจากองค์การบริหารส่วนจังหวัด 20,000 บาท สร้างอาคารเรียน
แบบ ป.1 ก ขนาด 4 ห้องเรียน 1 หลัง
ปี พ.ศ. 2523 ได้รับงบประมาณต่อเติมอาคารเรียน ป.1 ก จำนวน 2 ห้องเรียน
ปี พ.ศ. 2527 ได้รับงบประมาณจากสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดยะลา 272,700 บาท
สร้างอาคารเรียนอเนกประสงค์ แบบ สปช.201/2526 จำนวน 1 หลังงบ
12

ปี พ.ศ. 2533 ได้รับงบประมาณจากสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดยะลา 1,435,000 บาท


สร้างอาคารเรียนแบบ สปช.105/2529 2 ชั้น จำนวน 1 หลัง ในปีเดียวกันได้รับงบประมาณต่อเติมชั้น
ล่าง จำนวน 280,000 บาท
ปัจจุบันโรงเรียนบ้านบุดี เป็นโรงเรียนในโครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบลและโครงการ
โรงเรียน 2 ระบบ ได้แก่
สายสามัญ เปิดสอนตั้งแต่ ระดับชั้นอนุบาล ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
สายศาสนา เปิดสอนตั้งแต่ ระดับชั้นอิบตีดาอียะฮ
8. วิสัยทัศน์ของสถานศึกษา
จัดการศึกษามีคุณภาพมุ่งสู่มาตรฐานระดับชาติ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ชุมชนส่วนรวม
9. พันธกิจ/เป้าหมาย/เป้าประสงค์
1. นำรูปแบบและเทคนิคการบริหารจัดการแบบ PDCA มาใช้ในการบริหาร โดยยึดหลักธรรม
มาภิบาล
2. พัฒนาบุคลากรทางการศึกษาให้มีความเข้มแข็ง มีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนรู้
และการบริหารจัดการชั้นเรียน ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ มีการทำงานเป็นทีมและมีการให้บริการ
อย่างกัลยาณมิตร
3. พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพและศักยภาพการเรียนรู้ในทศวรรษที่ 21
4. ส่งเสริมบุคลากรในองค์กรและผู้ที่เกี่ยวข้อง ดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
10. บุคลากร
10.1 จำนวนครู ทั้งหมด 18 คน (ชาย 6 คน / หญิง 12 คน)
แยกตามวุฒิการศึกษา ดังนี้
ปริญญาโทหรือสูงกว่า จำนวน 3 คน
ปริญญาตรี จำนวน 14 คน
ต่ำกว่าปริญญาตรี หรือเทียบเท่า จำนวน 3 คน
10.2 จำนวนนักการภารโรง ทั้งหมด 1 คน (ชาย 1 คน / หญิง - คน)
10.3 จำนวนนักเรียน ทั้งหมด 242 คน (ชาย 000 คน / หญิง 000 คน)
10.4 อัตราส่วนระหว่างครูต่อจำนวนนักเรียน ครูจำนวน 1 คน ต่อนักเรียน 00 คน
10.5 บุคลากรอื่นๆ จำนวน……..คน ได้แก่……………
13

11. โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียน (ประกอบด้วยฝ่ายใดบ้าง)

โครงสร้างการบริหารโรงเรียนบ้านบุดี

12. ภาพประกอบ

13. วิดีโอเกี่ยวกับสถานศึกษา
14

INT 105
กิจกรรมที่ 5
บริบทชุมชน และความสั มพันธ์ ระหว่ างสถานศึกษาและชุมชน

คำชี้แจง ให้นักศึกษาบันทึกผลการศึกษาบริบทจากเอกสาร การสัมภาษณ์บุคลากรที่เกี่ยวข้อง


การสังเกตหรือการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ แล้วให้สรุปเป็นรายงานประกอบด้วยประเด็นต่อไปนี้
1. สภาพชุมชน

1.1 ข้อมูลพื้นฐานของชุมชน (ด้านการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ)


โรงเรียนบ้านบุดี เขตบริการ หมู่ที่ 8 ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา โดยมีท่านผู้ใหญ่บ้าน
นายสะอารี มะโย๊ะ โดยมีเขตบริการของโรงเรียนประกอบด้วย หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 8 ประชาชนส่วนใหญ่
มีอาชีพทำนา ทำสวนยางพารา เป็นต้น
1.2 องค์กรเครือข่าย/แหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชนมีอะไรบ้าง
- เศรษฐกิจพอเพียงด้านการเกษตร
- วิสาหกิจชุมชนข้าวหอมเมืองบุดี

2. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วยใครบ้าง
ประธานกรรมการ, ผู้ทรงคุณวุฒิ,ผู้แทนองค์กรศาสนา, ผู้แทนองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่น, ผู้แทน
ผู้ปกครอง, ผู้แทนครูและผู้แทนชุมชน

3. บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีต่อโรงเรียน
- เป็นที่ปรึกษาให้กับโรงเรียน
- เสนอแนะนโยบายการศึกษาให้กับทางโรงเรียนเพื่อพัฒนาการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ
- ให้ความร่วมมือและส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนา

4. ผู้ปกครอง ชุมชน มีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาอย่างไรบ้าง


- ร่วมกันประชุมพบปะผู้ปกครองในด้านการเรียน
- ร่วมกิจกรรมทางโรงเรียนที่มีกิจกรรมต่างๆที่จัดขึ้น
- ให้ความร่วมมือช่วยเหลือกับกิจกรรมที่โรงเรียนจัดขึ้น
15

5. สิ่งที่สถานศึกษาให้บริการแก่ชุมชนมีอะไรบ้าง
- เป็นสภานที่ประชุมให้ทางชุมชน
- เป็นสถานที่บริการกิจกรรมต่างๆให้กับชุมชน เช่น การเลือกตั้ง กิจกรรมทางศาสนา กิจกรรมสร้าง
ความสัมพันธ์ในชุมชน เป็นต้น

6. ภาพบริบทชุมชน
16

INT 106
กิจกรรมที่ 6
การศึกษาและสั งเกตพฤติกรรมของนักเรียน
คำชี้แจง การศึกษาสังเกตพฤติกรรมทั่วไปของนักเรียน ให้นักศึกษาบันทึกผลการศึกษาและสังเกต
พฤติกรรมโดยทั่วไปของนักเรียนในสถานศึกษาตามรายการต่อไปนี้
1. ด้านสุขภาพอนามัย
1.1 ความสะอาดของร่างกาย/เครื่องแต่งกาย
นักเรียนโรงเรียนบ้านบุดี จะแต่งกายตามกฎระเบียบของโรงเรียน แต่งกายด้วยชุดที่สะอาด หากมี
นักเรียนคนใดคนหนึ่งแต่งกายไม่เรียบร้อยก็จะมีครูเวรประจำวันเตือนอยู่ตลอดเวลา ทำให้การแต่งกาย
ของนักเรียนส่วนใหญ่แล้วจะเรียบร้อยตามกฎระเบียบที่โรงเรียนได้กำหนดไว้
1.2 การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ
อาหารกลางวันในแต่ละวันจะมีการรับประทานอาหารที่ไม่เหมือนกัน โดยอาหารจะถูกเตรียมไว้ในเมนู
เดียวกันและเหมือนกันทุกคน มีอาหารคาว และผลไม้ในบางวันสลับกันไป เมนูอาหารทุกเมนูได้ผ่าน
มาตรฐานฮาลาลซึ่งทุกคนสามารถทานได้โดยทั่วไปแล้วเด็กจะได้รับประทานอาหารที่เป็นไปตาม
โภชนาการ คือจะครบ 5 หมู่ในแต่ละวัน
1.3 การออกกำลังกาย
นักเรียนโรงเรียนบ้านบุดีจะออกกำลังกาย โดยผ่านการเล่นกีฬาที่หลากหลายประเภทในทุกสัปดาห์ไม่
เกินสองครั้งผ่านวิชาพละ

2. ด้านสังคม
2.1 การปฏิบัติตามระเบียบของโรงเรียน
โรงเรียนบ้านบุดีเป็นโรงเรียนที่อยู่ในชนบท แต่มีความเคร่งครัดในกฎระเบียบ ไม่ว่าจะเป็นครูบุคลากร
หรือนักเรียนทุกท่าน จะต้องทำตามกฎระเบียบของโรงเรียนอย่างเคร่งครัด หากผู้ใดที่กระทำผิดกฎก็จะ
ถูกตักเตือนและจะถูกปรับทัศนคติ สร้างความเข้าใจและข้อตกลงจนกว่าพฤติกรรมเหล่านั้นจะหายไป
2.2 ความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อน
นักเรียนมีความสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านการเรียน การเล่น นักเรียนแต่ละคนจะให้ความ
เหลือซึ่งกันและกัน ไม่แบ่งแยกเป็นกลุ่มตามระดับชั้นเรียน จะอยู่ด้วยกันอย่างพี่น้องกัน มีความสามัคคี
รักใคร่ต่อกัน เล่นด้วยความสนุกสนาน ไม่ทะเลาะเบาะแว้งกัน อยู่ด้วยกันในรั้วโรงเรียนอันเป็นหนึ่งเดียว
17

2.3 ความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนและครู
ครูและนักเรียนจะมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน นักเรียนจะให้ความร่วมมือกับครูอยู่ตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็น
ด้านการเรียน ด้านกิจกรรมในชั้นเรียน นักเรียนจะให้ความร่วมมือ โดยที่ครูและนักเรียนจะมีการพูดคุย
ระหว่างกัน คุณครูประจำชั้นจะมีความสนิทสนมกับนักเรียนในห้องของตนเอง และครูประจำชั้นจะรู้จัก
เด็กนักเรียนของตน รู้จักพฤติกรรมของเด็กนักเรียนแต่ละคนว่าเป็นอย่างไรและยังสามารถเข้าในการ
แก้ปัญหาปรับพฤติกรรมของเด็กนักเรียน อีกทั้งครูยังมีกิจกรรมเยี่ยมบ้านของนักเรียนอีกด้วย เพื่อรับรู้
สภาพความเป็นอยู่ของนักเรียนและบริบทชีวิตของนักเรียนในแต่ละคนได้อย่างทั่วถึง

3. ภาพประกอบ
18

INT 107
กิจกรรมที่ 7
การศึกษาหลักสู ตรสถานศึกษา
คำชี้แจง ให้นักศึกษาศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนหน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
แล้วสรุปตามประเด็นดังนี้
1. หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียน โรงเรียนบ้านบุดี
2. ลักษณะของหลักสูตรสถานศึกษา
แบ่งออกเป็น 2 หลักสูตร คือ
1. หลักสูตรสถานศึกษาวิชาสามัญ
2. หลักสูตรอิสลามแบบเข้ม

3. กระบวนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา (จากการสัมภาษณ์)
- การเตรียมการพัฒนาหลักสูตร
ทำข้อตกลงระหว่างโรงเรียนกับกรรมการสถานศึกษาและระหว่างผู้อำนวยการโรงเรียนคณะครูและ
บุคลากรทางการศึกษา มีการนัดประชุมร่วมกัน ทั้งผู้บริหาร ผู้ปกครอง คณะครู กรรมการสถานศึกษา
และการมีส่วนร่วมจากชุมชนในการให้ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะให้สถานศึกษาในการพัฒนา
หลักสูตรจนนำไปสู่การพัฒนานักเรียนต่อไป
- การนำหลักสูตรไปใช้ (การบริหารจัดการหลักสูตร)
เมื่อมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมก็จะทำการพิจารณาหลักสูตรว่าควรมีการปรับแก้ในส่วนใดบ้างเพื่อให้
สอดคล้องกับสภาพบริบทและความต้องการของชุมชนในการมีส่วนร่วมของทุกฝ้ายในการนำมาเพื่อ
พัฒนา จัดประชุมและครูแต่ละกลุ่มสาระนำหลักสูตรไปวิเคราะห์เพื่อจัดทำกำหนดการสอนและแผนการ
จัดการเรียนรู้ต่อไป
19

INT 108
กิจกรรมที่ 8
การศึกษาและสั งเกตกระบวนการกระบวนการชุมชนแห่ งการเรียนรู้
(Professional Learning Community : PLC) ของโรงเรียน
คำชี้แจง นักศึกษาสัมภาษณ์ ศึกษาและสังเกตกระบวนการ PLC ของโรงเรียนหน่วยฝึก
ประสบการณ์วิชาชีครู แล้วสรุปตามประเด็นดังนี้
1. กระบวนการ PLC ในโรงเรียน
(โรงเรียนมีกระบวนการ PLC เป็นรูปธรรมหรือไม่ ถ้ามีเป็นอย่างไร/ ถ้าไม่มีเป็นรูปธรรม มีการ
พบปะพูดคุยเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในด้านความเป็นครู การจัดการเรียนการสอนหรือไม่อย่างไร)
เป็นรูปธรรม คือ มีการแก้ปัญหารวมกันในปัญหาเรื่องเดียวกัน และแลกเปลี่ยนความคิดกันว่า
จะทำอย่างไร โดยในหนึ่งสัปดาห์จะมีการ PLC หนึ่งครั้ง ใช้เวลาไม่เกินครึ่งชั่วโมง

2. ผลลัพธ์ที่เกิดจากการ PLC
(สิ่งที่สะท้อนให้เห็นว่าเป็นผลจากการ PLC เช่น การเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ / รูปแบบการ
ทำงาน เป็นต้น)
คือ การได้แก้ปัญหาในเรื่องที่นักเรียนมีปัญหา เช่น ปัญหานักเรียนอ่านไม่ได้ ครูที่เกี่ยวข้องมา
ร่วมกัน PLC และแก้ปัญหาตามที่PLC ไว้ ซึ่งปรากฏว่านักเรียนมีการพัฒนา สามารถอ่านได้มากกว่าเดิม
20

INT 109
กิจกรรมที่ 9
การทบทวนหลังการปฏิบัติงาน (After Action Review : AAR) รายบุคคล
คำชี้แจง ให้นักศึกษาทบทวนผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในสถานศึกษาตามสภาพจริงใน
ประเด็นต่อไปนี้
1. การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในครั้งนี้เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้หรือไม่
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพในครั้งนี้ สามารถลุล่วงไปตามเป้าหมายที่วางไว้ได้อย่างราบรื่น
แต่ยังมีบางงานที่ไม่อาจจะสามารถเรียนรู้ได้ เนื่องด้วยขอกำหนดหรือขีดจำกัดของนักศึกษาฝึก
ประสบการณ์

2. สิ่งที่ได้รบั จากการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในครั้งนี้
- ได้เรียนรู้สายงานของวิชาชีพครูผ่านบริบทจริง
- ได้สังเกตการณ์ทักษะการสอนของครูในห้องเรียนได้สังเกตการณ์พฤติกรรมของเด็กนักเรียนในชั้นเรียน
เวลาที่ครูสอน
- อื่นๆ

3. ปัญหาหรืออุปสรรคที่พบเจอ
- ไม่มีสถานที่ละหมาด เนื่องจากอาคารละหมาดกำลังปรับปรุง
- ช่วงท้ายของสังเกตการณ์สอนตรงกับฤดูฝน ทำให้เกิดความลำบากในการเดินทางไปโรงเรียนโดยเฉพาะ
โรงเรียนที่ห่างไกลจากหน่วยฝึกที่นักศึกษาพักอาศัย
- ระยะเวลาของการลงสังเกตการณ์สอนสั้นไป อยากให้เพิ่มเป็นอย่างน้อย 20 วัน

4. การเตรียมความพร้อมในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในครั้งต่อไป
- เตรียมความพร้อมในการหาโรงเรียนที่สอดคล้องกับตนเอง
- เตรียมค้นคว้าและหาข้อมูลเกี่ยวกับจิตวิทยาครูคุมชั้นเรียนในการสอนเด็กนักเรียน
- เตรียมเนื้อหาจากการได้เรียนนรู้เพื่อใช้ในการสังเกตการณ์ในครั้งถัดไป
- เตรียมสุขภาพร่างกายเข้มแข็งและทักษะการเข้าหาสังคมกับผู้อื่น
21

ภาพผนวก

You might also like