You are on page 1of 36

เคมีอน

ิ ทรีย ์ 1202-111
พอลิเมอร ์ (Polymer)
ดร.วันชาติ ปรีชาติวงศ ์
สานักวิชาวิศวกรรมศาสตร ์และทร ัพยากร
อาคารวิชาการ 4 ห ้อง 146
โทร 2308 : wanchart@yahoo.com
Reference: F.W. Billmeyer, Jr., “Textbook
of Polymer Science”,
1
พอลิเมอร ์ (Polymer)

• บทนา พอลิเมอไรเซชน ่ั
• สัณฐานวิทยา เกณฑ ์การจาแนกพอลิ
เมอร ์
• พลาสติก
• ยางธรรมชาติและการวัลคาไนซ ์
• ยางสังเคราะห ์ชนิ ดต่าง ๆ
2
พอลิเมอร ์ คืออะไร???

• Polymer = Poly (หลาย) + meros


(ส่วน)
• เกิดจากโมโนเมอร ์ (monomer) ซึงเป็ ่ น
โมเลกุลเล็ก ๆ มาต่อโยงกันโดยพันธะเคมี
่ า้ ๆ กันว่า Repeating
• เรียกโครงสร ้างทีซ
Units

• เรียกกระบวนการทีโมโนเมอร ์มาต่อกันว่า 3
ชนิ ดของพอลิเมอร ์

• Plastics • Fibers
–Thermoplast • Adhesives
ics
• Coatings
–Thermosetti
ng
• Elastomers
or Rubber 4
การเรียกชือ่

เรียกโดยเติม “Poly” นาหน้าชือของโมโนเมอร ์ที่
ใช ้เตรียม
Monomer Polymer
ethylene CH2=CH2
Polyethylene
propylene CH2=CH(CH3)
Polypropylene
vinyl chloride CH2=CHCl
Polyvinyl chloride 5
การเรียกชือ่ (ต่อ)
Monomer
Polymer
methyl methacrylate
CH2=C(CH3)(COOCH3) PMMA
caprolactam NH2(CH2)5COOH
Polycaprolactam

6
Polymerization
Polymerization เป็ นปฏิก ิรยิ าการเตรียม
พอลิเมอร ์ โดยทาให ้โมโนเมอร ์ มาต่อเรียง
กันโดยพันธะเคมี (พันธะโคเวเลนต ์)
• ปฏิก ิรยิ าควบแน่ น (Condensation) หรือ
Step-reaction:

มีโมเลกุลเล็ก ๆ ออกมา และปฏิก ิรยิ าเกิดเป็ นขัน

• ปฏิก ิรยิ าการเติม (Addition) หรือ Chain-
reaction: 7
Condensation Polymerization
(แบบควบแน่ น)
• Step-reaction Polymerization
เพราะปฏิก ิรยิ าเกิดเป็ นขัน้ ๆ
Pi + Pj ----> P i+j
• โมเลกุลทีเข่ ้าทาปฏิก ิรยิ าไม่จาเป็ นต ้องเป็ น
โมโนเมอร ์ อาจจะเป็ นโมเลกุลทีมี ่ จานวนโมโน
เมอร ์อยูห
่ ลายตัว
• มีโมเลกุลเล็ก ๆ เป็ น by-product ออก
จากปฏิก ิรยิ า
• สูตรโครงสร ้างของ repeating unit ต่าง 8
Polyester เกิดจาก diol + dibasic acid
n HO-R-OH + n HOOC-R’-COOH -->
H(O-R-OCO-R’-CO-)nOH + (2n-
1)H2O

Polyamide เกิดจาก diamine + dibasic


acid หรือ monomer ทีมี ่ amine และ
carboxyl group อยูใ่ นโมเลกุลเดียวกัน
n NH2(CH2)xCOOH ----> H(-
NH(CH2)xCO-)nOH + (n-1) H2O
9
Addition Polymerization (แบบ
เติม)
• Chain-reaction Polymerization เพราะ
ปฏิก ิรยิ าเกิดอย่างต่อเนื่อง
่ มก
• เป็ นปฏิก ิรยิ าการเติม โดยทีไม่ ี ารสูญเสีย
โมเลกุลเล็ก ๆ
Pn* + M ------> Pn+1*
(M = monomer, Pn* = polymer chain
with reactive site (*) and degree of
polymerization of n)

• Reactive Site โดยทัวไปคื ิ่ ว เช่น
อ พันธะไม่อมตั
10
พันธะคู่

ขันตอนย่
อยของ Addition
1. Initiation: Initiator จะให ้ free radical
ออกมา เช่น peroxide แตกตัวเป็ น 2 free
radicals และจะเข ้าทาปฏิก ิรยิ ากับโมโนเมอร ์
I ---> 2R.
R. + CH2=CHX ---> RCH2-CHX .

่ ดจะเติมโมโน
2. Propagation: chain radical ทีเกิ
เมอร ์ตัวถัดไป
R(CH2-CHX)n CH2-CHX . + CH2=CHX --->
R(CH -CHX) CH -CHX . 11

ขันตอนย่
อยของ Addition (ต่อ)
้ ดของ
3. Termination: เป็ นการสินสุ
polymerization
3.1 Combination หรือ Coupling เป็ นการ
รวมของ free radicals และได ้ 1 โมเลกุลของ
พอลิเมอร ์
-CH2CHX. + .XHCCH2- ----> -CH2CHX-
XHCCH2-

3.2 Disproportionation มีการให ้ H. กับอีก


free radical ได ้ 2 โมเลกุลของพอลิเมอร ์ 12
ชนิ ดของ Initiator

13

Polymerization - นาหนั กโมเลกุล
(MW)
• เมือ่ Polymerization ดาเนิ นไป นาหนั
้ ก
่ น้
โมเลกุลจะเพิมขึ

• นาหนั กโมเลกุลมีผลต่อสถานะ เช่น
Polyethylene (CH2-CH2)n จาก
ethylene

ethylene (CH2=CH2) -> hexane (C6H14) ->


Polyethylene H(CH2)nH
(ก๊าซ -> ของเหลว -> 14
Polymer - Oligomer
Polymer
่ าให ้สมบัต ิ (เช่น จุด
– n ต ้องมีคา่ มากพอทีท
หลอมเหลว) ของ polymer ไม่เปลียนเมื ่ ่
อมี
การเติมโมโนเมอร ์ไปอีกตัว
Tm (n) = Tm (n+1)
Oligomer
- โมเลกุลทีมี่ นาหนั
้ กโมเลกุลไม่มากนัก ==>

สมบัตเิ ปลียนเมื ่ การเติมโมโนเมอร ์อีกตัว
อมี
15
สัณฐานวิทยา (Morphology)
• ผลึก (Crystalline): มีการเรียงตัวเป็ นระเบียบ
(ความหนาแน่ นสูง) ==> ไม่โปร่งแสง

• อสัณฐาน (Amorphous): ไม่มก ี ารจัดเรียง


ตัวและมีชอ่ งว่างระหว่างโซ่สงู (ความหนาแน่ น
ต่า) มีรป ่ ยกว่า “random coil”
ู ร่างทีเรี
==> โปร่งแสง

(ถุงร ้อนจะขุน ่
่ กว่าถุงเย็น เพราะเป็ นชนิ ดทีมี 16
Folded
Chains
(a) sharp
fold
(b)
(c) loose loops with adjacent entry,
switchboar
(d) combination of (a-c)
d
Fringed
Micelle

17
Crystalline - Amorphous
• พอลิเมอร ์ทุกตัวจะต ้องมีสว่ นอสัณฐานโดยที่
่ นผลึกหรือไม่ก็ได ้ ขึนอยู
อาจจะมีสว่ นทีเป็ ้ ่กบั
ความสามารถในการจัดเรียงตัวของโซ่ พอลิเมอร ์
่ นอสัณฐานทังหมด
• พอลิเมอร ์ทีเป็ ้ เรียก “พอลิ
เมอร ์อสัณฐาน” (Amorphous Polymer)
่ ทงผลึ
• พอลิเมอร ์ทีมี ้ั กและอสัณฐานเรียกพอลิเมอร ์
่ ก (Semi-crystalline Polymer)
กึงผลึ

• โดยทัวไปพอลิ เมอร ์จะไม่เป็ น 100% crystalline
ยกเว ้นเตรียมจากการตกผลึกเดียว ่ (Single
Crystal) 18
Morphology ของ Fibers

19
Thermal Transitions

การเปลียนแปลงสถานะเมื ่ ้ร ับความ
อได
ร ้อน
• Melting Temperature (Tm) หรือ
จุดหลอมเหลว
ผลึก -> ของเหลว
• Glass Transition Temperature
(Tg)
อสัณฐาน -> ของเหลว 20
เกณฑ ์การจาแนกพอลิเมอร ์
• มีการจาแนกพอลิเมอร ์ ได ้หลายชนิ ดตาม
การใช ้งาน
o
(1) Plastic Tg > 25 C
(amorphous)
o
Tm > 25 C (semi-
crystalline)
o
(2) Rubber Tg < 25 C
(amorphous) 21
ตัวอย่างค่า Tg และ Tm ของพอลิเมอร ์
ชนิ ด Tg Tm
Polydimethylsiloxane -127
-40 rubber
Polyisoprene -73 28*
rubber
Poly(ethylene oxide) -41 66
plastic
Polyethylene -36 137
plastic
22
เกณฑ ์การจาแนกพอลิเมอร ์ (ต่อ)

การเปลียนรู ่ ้ร ับความร ้อน
ปเมือได
• Thermoplastic สามารถขึนรู ้ ปใหม่เมือ ่

T > Tm เป็ นพลาสติกทีสามารถ
recycle ได ้ เช่น ขวดนา้ ซึงจะมี

สัญลักษณ์ recycle และรหัสของชนิ ด
ของพลาสติก
• Thermoset ไม่อาจขึนรู ้ ปใหม่ได ้ เพราะ
เกิดการ crosslink เป็ นโครงสร ้าง 3 มิ23ติ
เกณฑ ์การจาแนกพอลิเมอร ์ (ต่อ)

การ polymerization
• Addition เช่น PE, PP, PS, PVC,
PMMA, PTFE (Teflon)
• Condensation เช่น PET,
Polyamide (Nylon)

24
เกณฑ ์การจาแนกพอลิเมอร ์ (ต่อ)
จานวนชนิ ดของโมโนเมอร ์
• Homopolymer ใช ้โมโนเมอร ์ชนิ ดเดียว
• Copolymer ประกอบด ้วยโมโนเมอร ์อย่าง
น้อย 2 ชนิ ด
•random ABAABABBABBAA
•alternating ABABABABAB
•block AAAAAABBBBBB
B
•graft AAAAAAAAAA
B
25
Plastics
่ Tg สูงกว่าอุณหภูมห
• เป็ นพอลิเมอร ์ทีมี ิ ้อง
จึงมีสภาพแข็ง
• พลาสติกทีมี่ การใช ้งานทัวไป

- Polyethylene -
Polypropylene
- Polyvinyl chloride -
Polystyrene
- PET - Nylon
(Polyamide) 26
Polyethylene (PE)

• เตรียมจาก ethylene CH2=CH2


• มีจด
ุ หลอมเหลว 110-137oC มี 2
ประเภท
1. Low Density PE (LDPE): PE ซึงมี ่ กงิ่
ต่อจากโซ่หลัก ทาให ้มีการจัดเรียงตัวในส่วน
ผลึกไม่ดี (มีชอ่ งว่างมาก)
2. High Density PE (HDPE): PE ซึงมี ่ กงิ่
น้อยมาก มีการเรียงตัวกันดี ทาให ้มีความ
27
Polypropylene (PP)
• เตรียมจาก propylene CH2=CH(CH3)
• มีจดุ หลอมเหลวสูงกว่า PE เพราะหมู่ CH3 ที่
่ (165 - 177oC)
เพิม
่ ้ในเตาไมโครเวฟได ้
• ใช ้ทาภาชนะใส่อาหารทีใช

28
Polyvinyl Chloride (PVC)
• เตรียมจาก CH2=CHCl
่ ง เนื่ องจากมีแรงดึงดูดแบบมี
• เป็ นพลาสติกทีแข็
ขัว้ ซึงเกิ
่ ดจาก Cl (มีคา่ Electronegativity)
ทาให ้จุดหลอมเหลวสูง (204oC )

– ใช ้ทาท่อนาประปา

• มีการเติมสาร “plasticizer” เพือลดความ
แข็ง
– หนังเทียม ==> ในรถยนต ์ใหม่จะมีกลิน ่
29
Polystyrene (PS)
• เตรียมจาก CH2=CH(C6H5)

• โดยทัวไปเป็ นอสัณฐานเนื่ องจากขนาดของ

C6H5 ทีใหญ่ ทาให ้เกิดการเรียงตัวเป็ นผลึก
ได ้ไม่ดี
• เป็ นพลาสติกใส (แต่เปราะ) หรือทาให ้เป็ น
โฟม โดยการเติมสารทาให ้เกิดโฟม
• มี Tg = 100oC, Tm = 150-243oC
30
Poly(ethylene terephthalate)
(PET)
• เตรียมจาก ethylene glycol และ
terephthalic acid
• มี repeating unit เป็ น
(O-CH2-CH2-O-CO- -
CO-)
่ ยว ใช ้ทาขวดนามั
• เป็ นพลาสติกทีเหนี ้ นพืช
้ ดลม
ขวดนาอั
31
Polyamide (Nylon)
• เตรียมจาก diamine + dibasic acid
่ หมู่ amine และ
หรือโมโนเมอร ์ทีมี
carboxyl อยูอ
่ ย่างละข ้าง

H(-NH(CH2)xNH-CO
(CH2)yCO)nOH

มักใช ้งานในรูปของเส ้นใย (fiber)


32
Aramid

• Aramid = Aromatic + amide


(-CO- -CO-NH- -
NH-)n

• ชือการค ้าว่า Kevlar

• ใช ้ทาเสือเกราะกั นกระสุน เพราะมีความ
่ ดจากวงแหวน C6H4 ทีอยู
เหนี ยว ซึงเกิ ่ ใ่ นโซ่

พอลิเมอร ์ เทียบกับพลาสติกทัวไป ่ น
ซึงเป็
CH 33
Polytetrafluoroethylene (PTFE)

• ชือการค ้าว่า Teflon
(-CF2-CF2-)n
• ทนต่ออุณหภูมส ิ งู จุดอ่อนตัว = 370oC

• ใช ้เคลือบกระทะ เพราะสารอืนเกาะไม่ ดี

34
Composite Materials
ึ่ ดจากการ
• วัสดุประกอบ หมายถึงวัสดุซงเกิ
นาวัสดุอย่างน้อย 2 ชนิ ดมาใช ้งานร่วมกัน
อาจเป็ น โลหะ พอลิเมอร ์ เซรามิกซ ์
่ น (โลหะผสม + carbon
- ปี กเครืองบิ
fiber)
- เสา (คอนกรีต + เหล็กเส ้น)
- ยางรถยนต ์ (ยาง + เส ้นใยเหล็ก ไนลอน
PET)
35
- ไม้เทนนิ ส (รุน
่ graphite, boron, etc.)
36

You might also like