You are on page 1of 20

สมดุล เคมี (Chemical Equilibrium)

สมดุล เคมี (Chemical Equilibrium)


1. ปฏิกริ ยิ าผันกลับได้ (Reversible Reaction)
2. ภาวะสมดุล (Equilibrium)
3. ค่าคงทีส่ มดุล (Equilibrium Constant, K)
4. ประเภทของสมดุล
5. ค่าคงทีส่ มดุลกับสมการเคมี
6. จลศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี (Chemical Kinetic and Chemical Equilibrium)
7. ประโยชน์ของค่าสมดุลเคมี
8. สมดุลการละลาย (Solubility Equilibria)
9. ปั จจัยทีม่ ผี ลต่อสมดุลเคมี
ดร. บุณ ฑริ ก า เทพสุค นธ์ SC 2202 10. การประยุกต์ใช้สมดุลเคมี
242111 เคมีเชิ งฟิ สิ ก ส์แ ละการประยุก ต์ (Physical Chemistry and Application) 2

เอกสารอ้า งอิ ง 1. การเปลี่ย นแปลงที่ผนั กล บั ได้


• สารบางชนิด เมือ่ เกิดการเปลีย่ นแปลงแล้วอาจเปลีย่ นกลับเป็ นสารเดิม
• Chang, R., “Chemistry”, 9nd ed., McGraw-Hill Companies, Inc. ได้ การเปลีย่ นแปลงลักษณะนี้ เรียกว่า การเปลี่ย นแปลงที่ผนั กลับ
New York (2007). ได้ เช่น
• Burnes, R.A., “Fundamental of Chemistry, Prentice-Hall, New การละลายของนํ้ า ตาลทรายในนํ้ า การที่ น้ํ าที่ ไ ด้ ร ั บ ความร้ อ นจะ
Jersey (1995). ร้อ นจนได้ส ารละลายอิ่ม ตัว เมื่อ ตัง้ เปลี่ ย นสถานะเป็ นไอนํ้ า เมื่ อ
• Brown, T.L., Lemay H.E. and Burstey B.E., “Chemistry the ทิ้ ง ไว้ ท่ี อุ ณ หภู ม ิ ห้ อ งจะมี น้ํ าตาล อุ ณ หภู ม ิล ดลงไอนํ้ า จะควบแน่ น
Central Science”, 6th ed., Prentice-Hall, New Jersey (1994). ทรายบางส่วนตกผลึกออกมา กลับเป็ นนํ้า

C12H22O11(aq)
C12H22O11(s)
3 4
Forward 2. สภาวะสมดุล (Equilibrium)
Reactants Products
Reverse
• สภาวะทีอ่ ตั ราเร็วของปฏิกริ ยิ าไปข้างหน้า เท่ากับอัตราเร็วของ
• เมือ่ สารตัง้ ต้นทําปฏิกริ ยิ าเกิดเป็ นผลิตภัณฑ์ เรียกว่า ปฏิ กิ ริ ย าไป ปฏิกริ ยิ าย้อนกลับ เรียกว่า สมดุล ไดนามิ ก
ข้า งหน้ า (Forward reaction) และตรงข้ามเมือ่ ผลิตภัณฑ์ทาํ ปฏิกริ ยิ า • ความเข้มข้นของสารตัง้ ต้นและผลิตภัณฑ์คงที่
กันแล้วเปลีย่ นกลับไปเป็ นสารตัง้ ต้น เรียกว่า ปฏิ กิ ริ ย าย้อ นกลับ • ปฏิกริ ยิ าเกิดเองอัตโนมัติ และเกิดในระบบปิ ด
(Reverse reaction) • แบ่งเป็ น Chemical Equilibrium และ Physical Equilibrium
• ปฏิกริ ยิ าทีม่ ที งั ้ ปฏิกริ ยิ าไปข้างหน้าและปฏิกริ ยิ าย้อนกลับเรียกว่า
ปฏิ กิ ริ ย าผัน กล บั ได้ จะใช้เครือ่ งหมาย หรือ
การจะเกิด rxn. ผันกลับได้หรือไม่ ขึน้ กับสภาวะของ rxn.
สมดุลเคมี คือ อัตราการเกิดปฏิกริ ยิ าไปข้างหน้า (Forward reaction) และ ปกติผนั กลับได้เอง K  1 x 1025
อัตราย้อนกลับ (Reverse reaction) มีคา่ เท่ากันและความเข้มข้นของทัง้ ถ้าไม่เกิด rxn. ผันกลับ K  1 x 1025
สารตัง้ ต้นและผลิตภัณฑ์มคี า่ คงที่ ถึงแม้วา่ ปฏิกริ ยิ ายังคงดําเนินไป ดังนัน้ ถ้าไม่เกิด rxn. ผันกลับ จะไม่เกิดสมดุลเคมี
5 6

• Physical Equilibrium

Equilibrium
Equilibrium

Equilibrium
• Chemical Equilibrium Start with NO2 Start with N2O4 Start with NO2 & N2O4

ไม่มสี ี สีน้ําตาลแดง
• ถ้าเพิม่ P แก๊สจะมีสนี ้ําตาล
• ถ้าลด P จะเห็นสีน้ําตาลแดงเพิม่ ขึน้ 7 8
2. การเปลี่ย นแปลงที่ส ภาวะสมดุล II) การเปลี่ย นสถานะของสาร สมดุล ของการเปลี่ย นสถานะ
(อัตราการระเหย = อัตราการกลันตั
่ ว)
การเปลีย่ นแปลงของระบบทีผ่ นั กลับได้ก่อให้เกิดสมดุลเคมีได้ม ี 3 ประเภท ของแข็ง ของเหลว
I) การละลายเป็ น สารละลาย • ใส่เกล็ดไอโอดีน (สีมว่ งเข้ม) ลงใน
ก๊า ซ ขวดแล้วปิ ดจุก ตัง้ ไว้ ณ
[Co(H2O)6] 2+ + 4Cl - [CoCl 4] 2- + 6H2O
(สีชมพู) (สีน ํ้า เงิ น ) อุณหภูมหิ อ้ ง เมือ่ เวลาผ่านไป
ไอโอดีนจะเกิดการระเหิด (สังเกต
เกิดไอสีมว่ งขึน้ )
สมดุล การละลาย • การเปลีย่ นแปลงย้อนกลับ คือการที่
(อัตราการละลาย = อัตราการตกผลึก) ไอโอดีนบางส่วนรวมตัวกันและ
เปลีย่ นสถานะเป็ นของแข็ง
(ก) (ข)
สามารถเขียนสมการสมดุล ได้ดงั นี้
รูป การระเหิดของไอโอดีนใน
9
I2 (s) I2 (g) 10
ภาชนะปิ ด

• การเปลีย่ นแปลงเช่นนี้เกิดขึน้ ตลอดเวลา จนในทีส่ ดุ


อัตราการระเหย = อัตราการควบแน่น
จึงทําให้ระดับของของเหลวในภาชนะคงที่ แสดงว่าของเหลวและไอ
อยูใ่ นภาวะสมดุล
รูป การระเหยของของเหลว
• เขียนแสดงได้ดงั นี้
ในภาชนะปิ ด
ของเหลว ไอ
• ของเหลวในภาชนะที่ T และ P คงทีข่ องเหลวจะระเหยออก ทําให้ระดับ
ของของเหลวลดลงเรือ่ ยๆ
• ทีส่ มดุลปฏิกริ ยิ าเคมียงั คงเกิดขึน้ จึงจัดเป็ นสมดุล ไดนามิ ก
• แต่ภาชนะปิ ดสนิท ระดับของของเหลวจะลดลงจนคงที่ เนื่องจาก
(Chemical Equilibrium)
ของเหลวบางส่วนระเหยเป็ นไอ เมือ่ ไอมีปริมาณมากขึน้ จะเกิดการ
เปลีย่ นแปลงย้อนกลับโดยควบแน่นกลับเป็ นของเหลว
11 12
III) การเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าเคมี • ตอนเริม่ ต้น [H2O] และ [CO] มีอยูม่ าก ปฏิกริ ยิ าจึงเกิดขึน้ ทันที ได้ H2
และ CO2 เมือ่ เวลาผ่านไปความเข้มข้นสารตัง้ ต้นลดลง จนถึงเวลา te
• เมือ่ ศึกษาปฏิกริ ยิ าระหว่างไอนํ้าและแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ใน
ทีค่ วามเข้มข้นสารตัง้ ต้นไม่เปลีย่ นแปลง จึงกล่าวได้วา่ ปฏิกริ ยิ าเข้าสู่
ภาชนะปิ ด ซึง่ เกิดทีอ่ ุณหภูมสิ งู มีสภาวะสมดุลเกิดขึน้ และเขียนสมการ
สมดุลแล้ว
ได้ ดังนี้
H2O (g) + CO (g) H2 (g) + CO2 (g)

ความเข้ม ข้น
• จากสมการพบว่า H2O และ CO ทําปฏิกริ ยิ ากัน 1:1 และได้ H2 และ H2 + CO2
CO2 ในอัตราส่วน 1:1
H2O + CO
te เวลา
รูป กราฟแสดงการเปลีย่ นแปลงความเข้มข้นของสารตัง้ ต้นและผลิตภัณฑ์
13 ต่อเวลา 14

b a
3. ค่า คงที่ส มดุล (Equilibrium Constant, K)

𝐶 𝐷
𝐾
𝐴 𝐵
Equilibrium Will
Lie to the right Favor product
Lie to the left Favor reactant

a
Constant
b 15 16
กรณีที ่ 1 : ถ้า เช่น ในระบบต่อไปนี้ ที่ 2300 oC
• ขนาดของค่า คงที่ส มดุล : ค่าคงทีส่ มดุลจะมีคา่ มากหรือน้อย
ขึน้ อยูก่ บั แต่ละปฏิกริ ยิ าและขึน้ อยูก่ บั อุณหภูม ิ
𝑂
𝐾 2.54 10
การทราบค่า K มีค วามสํา คัญ ดังนี้ 𝑂

• ทีส่ มดุล สารตัง้ ต้นและผลิตภัณฑ์มปี ริมาณสัมพัทธ์เป็ นเท่าใด


ทีส่ มดุล ระบบจะมี O2 ปนอยูก่ บั O3 แต่จะมี O3 << O2
• ทราบว่าปฏิกริ ยิ ามีผลผลิต (yield) สูงหรือตํ่า
ดังนัน้ ถ้า [O2] = 0.50 M ทีส่ มดุล จะได้

หน่วยค่า K จะเปลี่ยนไปตามจํานวนสารที่เกี่ยวข้ องใน rxn. ดังนันจึ


้ งไม่ 0.50
𝑂 4.92 10 𝑀
นิยมใส่หน่วย 2.54 10
𝑂 2.22 10 𝑀
17 18

กรณีที ่ 2 : ถ้า เช่น ในระบบต่อไปนี้ ที่ 25 oC กรณีที ่ 3 : ถ้า แสดงว่า สารตัง้ ต้นและสารผลิตภัณฑ์ ที่
สมดุลมีปริมาณพอๆ กัน เช่น ในระบบต่อไปนี้ท่ี 380 oC

𝐶𝑙
𝐾 1.4 10
𝐶𝑙
𝐻 𝐶𝑂
𝐾 5.10
𝐶𝑂 𝐻 𝑂
ระบบสมดุล จะมี
ถ้า 𝐶𝑙 0.76 𝑀 ถ้า 𝐶𝑂 0.200 𝑀, 𝐻 𝑂 0.400 𝑀, 𝐻 0.300 𝑀
𝐶𝑙 0.76 1.4 10 1.1 10 𝑀 𝐾 𝐶𝑂 𝐻 𝑂
ทีส่ มดุล จะได้ 𝐶𝑂
𝐻
𝐶𝑙 1.1 10 1.0 10 𝑀
5.10 0.200 0.400
𝐶𝑂 1.36 𝑀
จะเห็นว่า [Cl] มีความเข้มข้นตํ่ามาก เมือ่ เทียบกับ [Cl2] 0.300
19 20
4. สมดุล เอกพัน ธุ์ (Homogeneous Equilibrium) • โดยทัวไป
่ แต่เราสามารถหาความสัมพันธ์ระหว่าง
กับ ได้ ดังสมการ
• สมดุลของปฏิกริ ยิ าทีส่ ารทัง้ หมดในปฏิกริ ยิ าอยูใ่ นวัฏภาคเดีย วกัน
เช่น ในปฏิกริ ยิ าการสลายตัวของ

สามารถเขียนในรูป เป็ น ค่าคงทีใ่ นรูปความเข้มข้น

เมือ่ และ เป็ นความดันย่อยของ และ

หรือ ในรูป เป็ น ค่าคงทีใ่ นรูปของความดัน

21 22

แทนค่า และ ลงในสมการ ตัว อย่า ง จากสมดุลของ PCl5(g) PCl3(g) + Cl2(g)


o
ถ้า KP = 1.05 atm ที่ 250 C ความดันย่อย PCl5= 0.8 atm,
PCl3 = 0.4 atm จงหาความดันย่อย Cl2 ทีส่ มดุล (250 oC)

วิ ธ ีคิ ด

เนื่องจาก และ มีหน่วยเป็ น จึงแทนได้ดว้ ย


และ ตามลําดับ

จะได้ ∆ หรือ ∆ Ans

∆𝑛 𝑛 𝑛 𝑅 0.0821 𝐿𝑎𝑡𝑚/𝑚𝑜𝑙𝐾
23 24
ตัว อย่า ง N2(g) + 3H2(g) 2NH3(g) ถ้า KP = 4.3  10– 4 ตัว อย่า ง ในการศึกษาสมดุลเคมีของกระบวนการด้านล่าง ที่ 230oC
ที่ 200 oC จงหาค่า KC โดยมีความเข้มข้นของสารทีส่ มดุล ดังนี้ [NO] = 0.052 M,
[O2] = 0.127 M, [NO2] = 15.5 M จงคํานวณหาค่า KC และ KP
วิ ธ ีคิ ด
วิ ธ ีคิ ด

KC = 0.65 Ans
𝐾 1.6 10 Ans
25 26

5. สมดุล วิ วิ ธ พัน ธุ์ (Heterogeneous Equilibrium) 𝟑 𝒔 𝒔 𝟐 𝒈

• ปฏิกริ ยิ าทีส่ าร (reactants, products) ไม่เป็ น phase เดีย วกัน คือ


มี gas solid liquid ปนกัน ให้ถือ ว่า ความเข้ม ข้น ของสารที่เป็ น
ของแข็ง ของเหลว มีค ่า คงที่
เช่น

ไม่ขึ ้นอยูก่ บั ปริ มาณของ (s) หรื อ (s)


27 28
300
ตัวอย่าง NH4HS(s)
K
NH3(g) + H2S(g) 6. สมดุล หลายขัน้ ตอน (Multiple Equilibria)
จงหา KC , KP ถ้า partial pressure ของ gas เท่ากัน = 0.3 atm
• Equilibrium constant; KC รวม = ผลคูณของ KC ย่อยแต่ละปฏิกริ ยิ า
วิ ธ ีคิ ด KP = PNH3 . PH 2S • ถ้าปฏิกริ ยิ ามี products ทีเ่ ข้าไปทําปฏิกริ ยิ าต่ออีก
= (0.3)(0.3) = 0.09 𝐶 𝐷
1) 𝐾
𝐴 𝐵
จาก KP = KC
𝐸 𝐹
n = 2 – 0 = 2 mol 2) 𝐾
𝐶 𝐷
T = 300 K 1) + 2)
แทนค่า 0.09 = KC (0.082  300)2 𝐶 𝐷 𝐸 𝐹
𝐾 รวม 𝐾 𝐾
KC = 1.49 x 10 – 4 Ans 𝐴 𝐵 𝐶 𝐷
𝐸 𝐹
𝐾
29
𝐴 𝐵 30

7. ค่า คงที่ส มดุล กับ สมการเคมี b) ถ้า คูณ สัม ประสิ ทธิ์ เข้า ที่ส มการเคมี ค่า คงที่ส มดุล ใหม่ จะเท่า กับ
ค่า คงที่ส มดุล เดิ ม ยกกํา ลังสัม ประสิ ทธิ์
2𝐴 ↔ 2𝐵

2𝐴 ↔ 4𝐵
𝐵
𝐾 𝐾 10 100
𝐴

a) ถ้า กลับ สมการเคมี ค่า คงที่ส มดุล ใหม่ จะเท่า กับ ส่ว นกล บั ของ c) ถ้า สมการเคมีม าบวกกัน ค่า คงที่ส มดุล ใหม่ จะเท่า กับค่า คงที่
ค่า คงที่ส มดุล เดิ ม สมดุล เดิ ม คูณ กัน
𝐴 ↔ 2𝐵 …..1 𝐾 10
𝐵 𝐶 ↔ 2𝐷 𝐸 …..2 𝐾 0.2
1 2 𝐴 𝐶 ↔ 𝐵 2𝐷 𝐸 …..3
31 32
𝐵 𝐷 𝐸 โจทย์ จงเขียนความสัมพันธ์ของค่าคงทีส่ มดุลจากปฏิกริ ยิ าต่อไปนี้
𝐾
𝐴 𝐶
ก. NH3 + O2 NO + H2O
𝐾 𝐾𝐾 10 0.2 2

d) ถ้า สมการเคมีม าลบกัน ค่า คงที่ส มดุล ใหม่ จะเท่า กับ ค่า คงที่
สมดุล เดิ ม หารกัน
𝐴 ↔ 2𝐵 …..1 𝐾 10 ข. SO3 + Cl2 SO2Cl2 + O2
𝐵 𝐶 ↔ 2𝐷 𝐸 …..2 𝐾 0.2
1 2 𝐴 2𝐷 𝐸 ↔ 3𝐵 𝐶 …..4

𝐵 𝐶 ค. SO3 + H2 SO2 + H2O


𝐾
𝐴 𝐷 𝐸
𝐾 10
𝐾 50 33 34
𝐾 0.2

ตัว อย่า ง กําหนดค่าคงทีส่ มดุลของปฏิกริ ยิ าต่อไปนี้ ทีอ่ ุณหภูมหิ อ้ ง 8. จลศาสตร์เคมีแ ละสมดุล เคมี (Chemical Kinetic
1 𝑁𝑂 ↔ 𝑁𝑂 𝑂 ….𝐾 7.75
and Chemical Equilibrium)
2 𝑁𝑂 ↔ 𝑁𝑂 𝑂 ….𝐾 4.00
จงคํานวณหาค่าคงทีส่ มดุล KC ของปฏิกริ ยิ าต่อไปนี้ kf 𝑟𝑎𝑡𝑒 𝑘 𝐴 𝐵

3 𝑁𝑂 ↔ 𝑁𝑂 2𝑂 ….𝐾 ??? kr 𝑟𝑎𝑡𝑒 𝑘 𝐴𝐵

ทีส่ มดุล 𝑟𝑎𝑡𝑒 𝑟𝑎𝑡𝑒


วิ ธ ีคิ ด
𝑘 𝐴 𝐵 𝑘 𝐴𝐵
𝑘 𝐴𝐵
𝐾
𝑘 𝐴 𝐵

Ans • ดังนัน้ มีคา่ คงทีเ่ สมอ ไม่วา่ ความเข้มข้นจะเปลีย่ นแปลง


อย่างไร และค่า จะขึน้ อยูก่ บั อุณหภูม ิ 36
9. ประโยชน์ ข องค่า คงที่ส มดุล • อัตราส่วน 𝑝𝑟𝑜𝑑𝑢𝑐𝑡 / 𝑟𝑒𝑎𝑐𝑡𝑎𝑛𝑡 ทีส่ ภาวะเริม่ ต้นมี
ค่าน้อยมาก เพือ่ เข้าสูส่ มดุล 𝑟𝑒𝑎𝑐𝑡𝑎𝑛𝑡 → 𝑝𝑟𝑜𝑑𝑢𝑐𝑡
ระบบจะเกิดปฏิกริ ยิ าไปข้างหน้า
• ใช้ในการทํานายทิศทางของปฏิกริ ยิ าได้
• ระบบอยูใ่ นสภาวะสมดุล
• ช่วยคํานวณหาความเข้มข้นของสารทีส่ ภาวะสมดุล โดย ขึน้ อยู่ • อัตราส่วน 𝑝𝑟𝑜𝑑𝑢𝑐𝑡 / 𝑟𝑒𝑎𝑐𝑡𝑎𝑛𝑡 ทีส่ ภาวะเริม่ ต้นมี
ค่ามาก เพือ่ เข้าสูส่ มดุล 𝑝𝑟𝑜𝑑𝑢𝑐𝑡 → 𝑟𝑒𝑎𝑐𝑡𝑎𝑛𝑡
กับอุณหภูม ิ ระบบจะเกิดปฏิกริ ยิ าย้อนกลับ
• สําหรับปฏิกริ ยิ าทีย่ งั ไม่เข้าสูส่ มดุล สามารถคํานวณความเข้มข้น
𝑸𝑪 𝑸𝑪
𝑲𝑪
ของสารได้จากผลหารของปฏิกริ ยิ า (Reaction Quotient, Q)

37 38

ตัว อย่า ง จงทํานายทิศทางของปฏิกริ ยิ าต่อไปนี้ ว่าจะไปข้างหน้าหรือว่า ตัว อย่า ง ก๊าซไนโตรซิลคลอไรด์ (NOCl) 2.5 mol ในภาชนะ 1.5 dm3
เกิดแบบย้อนกลับ ถ้าบรรจุ H2O 0.243 mol, I2 0.146 mol และ สลายตัวที่ 400 ๐C หลังจากเข้าสูส่ มดุลพบว่า NOCl สลายตัว 28%
HI 1.98 mol ลงในบีกเกอร์ขนาด 1 L มีคา่ คงทีส่ มดุล KC = จงคํานวณค่า K ของปฏิกริ ยิ านี้
54.3 ที่ 430 oC วิ ธ ีทาํ 2NOCl 2NO + Cl2
วิ ธ ีทาํ เริม่ ต้น
เปลีย่ นไป
สมดุล

𝟏𝟎𝟎. 𝟒𝟔
𝟓𝟒. 𝟑
Kc
Qc Ans
ระบบจะเกิดขึน้ จากทางขวาไปซ้าย หรือเกิดปฏิกริ ยิ าย้อนกลับ 39 K = 3.6 x 10-2 40
ตัว อย่า ง ถ้าบรรจุ H2 0.50 โมล และ I2 0.50 โมล ลงในบีกเกอร์ขนาด 1 L มี ตัว อย่าง จากสมดุลของ A B
ค่าคงทีส่ มดุล KC = 54.3 ที่ 430oC จงหาความเข้มข้นของ H2 , I2 เมือ่ [A]0 = 0.5 mol/L และ KC = 1.5 จงหา [A] , [B] ทีส่ มดุล
และ HI ในสภาวะสมดุล
วิ ธ ีทาํ
วิ ธ ีทาํ H2(g) + I2(g) HI(g) A B
เริม่ ต้น เริม่ ต้น (M)
เปลีย่ นไป เปลีย่ นแปลง (M)
สมดุล สมดุล (M)
แทนค่า
Ans
[H2] =
[I2] =
[HI] = 41 42

ตัว อย่า ง เริม่ ต้นมี A2 0.5 mol, B2 0.5 mol ในภาชนะ 1 ลิตร ทีอ่ ุณหภูม ิ
430 oC มีคา่ KC = 49 จงหา [A2], [B2] และ [AB] ทีส่ มดุล
วิ ธ ีทาํ
A2(g) + B2(g) 2AB(g)
ดังนัน้ ทีส่ มดุล [A] = เริม่ ต้น (M)
[B] = ตอบ เปลีย่ นแปลง (M)
สมดุล (M)
แทนค่า

43 44
(2 x ) ตัว อย่า ง ที่ 1000 K มีคา่ KC = 3.8 x 10-5 เริม่ ต้นมี I2 0.04 mol ในภาชนะ
(0.5 - x ) ขนาด 2 L จงคํานวณหา % การสลายตัวของ I2
วิ ธ ีทาํ
เริม่ ต้น 1 L
เปลีย่ นแปลง
x = 0.39 M สมดุล
ทีส่ มดุล [A2] = K มีคา่ น้อยมาก
[B2] = [p]<[r] ตัดทิง้ ได้
[AB] = Ans

% การสลายตัวของ I2 Ans
45 46

ตัว อย่า ง ผสม H2 3.0 mol และ F2 6.0 mol ใน flask 3.0 L มีคา่ KC = 1.11 10 𝑋 3.45 10 𝑋 2.30 10 0
1.15 x 102 จงคํานวณ [H2], [F2] และ [HF] ทีส่ มดุล
แก้สมการ quadratic
วิ ธ ีทาํ
𝑏 𝑏 4𝑎𝑐
เริม่ ต้น 1 L 𝑥
2𝑎
เปลีย่ นแปลง
3.45 10 3.45 10 4 1.11 10 2.30 10
สมดุล 𝑥
2 1.11 10

𝑥 2.14, 0.968 mol/L

𝐹
𝐻𝐹 Ans
47 48
10. สมดุล การละลาย (Solubility Equilibria) 11. ปัจ จัย ที่ม ีผลต่อ สมดุล เคมี
𝒚 𝒛 • การเปลีย่ นแปลงสภาวะบางอย่าง อาจมีผลรบกวนต่อทิศทางของ
𝒚 𝒛
H20 สมดุล
• หลัก ของเลอชาเตอลิ เยร์ (Le Châtelier’s Principle):
“ถ้าสมดุลของระบบถูกรบกวนให้มคี วามเค้น (Stress) มากขึน้ ระบบ
คือ ค่าคงที่ผลคูณการละลาย จะปรับตัวในทิศทางทีท่ าํ ให้ความเค้นนัน้ ลดลง”
(Solubility Product Constant) • โดยความเค้น : ความเข้มข้น
ปริมาตร
• สมดุลระหว่างตัวถูกละลายของแข็ง ความดัน
กับไออนในสารละลายทีอ่ มิ่ ตัว อุณหภูม ิ
(เรียนต่อในเรือ่ งค่าการละลาย กรด-เบส) Henry Louis Le Châtelier
49 50

การเปลี่ย นแปลงความเข้ม ข้น • ถ้า เติ ม NaSCN ลงไปในระบบ SCN-

FeSCN2+(aq) Fe3+(aq) + SCN- FeSCN2+(aq) Fe3+(aq) + SCN-

สีแ ดงเลือ ดนก สีเหลือ งอ่อ น ไม่ม ีสี

- รบกวนสมดุลโดยเพิม่ ความเข้มข้นของ SCN-


• ถ้า เติ ม NaSCN ลงไปในระบบ ? ? ? - ระบบจะปรับตัวเพือ่ ลดการรบกวนโดย Fe3+ บางไอออนจะทํา
ปฏิกริ ยิ ากับ SCN- ทีเ่ ติมลงไป
• ถ้า เติ ม Fe(NO3)3 ลงไปในระบบ ? ? ? - สมดุลเลือ่ นจากขวาไปซ้าย
• ถ้า เติ ม กรดออกซาลิ ก (H2C2O4) ลงไปในระบบ ??? - สารละลายมีสแี ดงเพิม่ ขึน้
51 52
• ถ้า เติ ม Fe(NO3)3 ลงไปในระบบ Fe3+ • ถ้า เติ ม กรดออกซาลิ ก (H2C2O4) ลงไปในระบบ C2O42-

FeSCN2+(aq) Fe3+(aq) + SCN- FeSCN2+(aq) Fe3+(aq) + SCN-

- รบกวนสมดุลโดยลดความเข้มข้นของ Fe3+
- รบกวนสมดุลโดยเพิม่ ความเข้มข้นของ Fe3+
- FeSCN2+ แตกตัวเพือ่ ให้ Fe3+
- ระบบจะปรับตัวเพือ่ ลดการรบกวนโดย SCN- บางไอออนจะทํา
ปฏิกริ ยิ ากับ Fe3+ ทีเ่ ติมลงไป - สมดุลเลือ่ นจากซ้ายไปขวา
- สมดุลเลือ่ นจากขวาไปซ้าย - สารละลายเปลีย่ นเป็ นสีเหลืองเนื่องจาก Fe(C2O4)33-
Fe3+(aq) + C2O42- Fe(C2O4)33-(aq)
- สารละลายมีสแี ดงเพิม่ ขึน้
53 สีเหลือง 54

ตัว อย่า ง ทีส่ มดุลเดิม N2(g) + 3H2(g) 2NH3(g) ข.) คํานวณค่า QC เพือ่ เปรียบเทียบกับค่า KC
มี [N2] = 0.683 M [H2] = 8.80 M และ [NH3] =
1.05 M ที่ 720oC ถ้าเติม NH3 ลงไปในสารละลายจนได้ความ 𝑁𝐻
𝐾
𝑁 𝐻
เข้มข้น = 3.65 M
ก.) จงทํานายว่าปฏิกริ ยิ าจะมีทศิ ทางใด เมือ่ เข้าสูส่ มดุลอีกครัง้
ข.) คํานวณค่า QC เพือ่ เปรียบเทียบกับค่า KC 𝑁𝐻
𝑄
𝑁 𝐻
วิ ธ ีทาํ ก.) จงทํานายว่าปฏิกริ ยิ าจะมีทศิ ทางใด เมือ่ เข้าสูส่ มดุลอีกครัง้

𝑄 𝐾 ทําให้เกิดปฏิกริ ยิ าย้อนกลับ จากขวาไปซ้าย 𝑄 𝐾 Ans


55 56
𝟐 𝒈 𝟐 𝒈 𝟑 𝒈
Le Châtelier’s Principle
• Change in Concentration continued
เติ ม NH3(g) ลงไป ระบบปรับตัวทําให้
เกิดปฏิกริ ยิ าย้อนกลับ ปริมาณ N2 และ
H2 เพิม่ ขึน้
การรบกวน Shifts the Equilibrium
เพิม่ ความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ ซ้าย
ลดความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ ขวา
เพิม่ ความเข้มข้นของสารตัง้ ต้น ขวา
ลดความเข้มข้นของสารตัง้ ต้น ซ้าย
57 58

การเปลี่ย นแปลงความดัน หรือ ปริ ม าตร • การเปลีย่ นแปลงความดันหรือปริมาตรของระบบ จะไม่มผี ลต่อ


ความเข้มข้นของของแข็งและของเหลว และไม่มผี ลต่อค่าคงที่
𝟐 𝟒 𝒈 𝟐 𝒈 สมดุล เนื่องจากไม่สามารถบีบอัดได้ จึงทําให้ปริมาตร
เปลีย่ นแปลงน้อยมาก
𝑁𝑂
𝐾
𝑁𝑂 • ในการเปลีย่ นแปลงความดันโดยไม่รบกวนการเปลีย่ นปริมาตร
เช่น การเติมแก๊สเฉื่อย (He, Ne, Ar, Kr, Xe และ Ra) ลงไป จะ
• ถ้ากดก้านกระบอกลูกสูบลง ที่ T คงที่ (ลด V
ไม่รบกวนสมดุลของระบบ เนื่องจากความดันย่อยของแก๊สแต่ละ
ภาชนะ) ทําให้ n/V ของทัง้ สารตัง้ ต้นและ
ตัวยังมีคา่ เท่าเดิม
ผลิตภัณฑ์ มีคา่ มากขึน้ สมดุลเปลีย่ นไป
เนื่องจาก [NO2] ถูกยกกําลังสองจึงทําให้เพิม่
• ถ้าจํานวนโมลของสารตัง้ ต้นและผลิตภัณฑ์เท่ากันการ
มากกว่า [N2O4], QC > KC ปฏิกริ ยิ าเกิดไป
เปลีย่ นแปลงความดัน จะไม่มผี ลต่อสมดุล
ทางซ้าย 59 60
Le Châtelier’s Principle จงทํา นายทิ ศ ทางของปฏิ กิ ริ ย าต่อ ไปนี้ เมื่อ มีก ารเพิ่ ม ความดัน

• Change in Volume and Pressure

𝒈 𝒈 𝒈

การรบกวน Shifts the Equilibrium


เพิม่ ความดัน เปลีย่ นจากด้านทีม่ โี มล มาก น้อย
(ลดปริมาตร) (กรณีน้ีเกิดปฏิกริ ยิ าย้อนกลับ)
ลดความดัน เปลีย่ นจากด้านทีม่ โี มล น้อย มาก
(เพิม่ ปริมาตร) (กรณีน้ีเกิดปฏิกริ ยิ าไปข้างหน้า)
61 62

การเปลี่ย นแปลงอุณ หภูมิ Endothermic Rx

𝑁𝑂
• การเปลีย่ นความเข้ม ข้น หรือ ความดัน ทํา ให้ต าํ แหน่ งของสมดุล เปลี่ย นแต่ 𝐾
𝑁𝑂
ไม่มผี ลต่อค่า K เฉพาะอุณ หภูมิ เท่า นัน้ ที่ม ีผลทํา ให้ค ่า K เปลี่ย น
𝑁𝑂 ↔ 2𝑁𝑂 • การเพิม่ อุณหภูม ิ 𝑁𝑂 ↑, 𝑁 𝐻 ↓, 𝐾 เพิม่ ขึน้
H𝑒𝑎𝑡 𝑁𝑂 ↔ 2𝑁𝑂 ∆𝐻 ° 58.9 𝑘𝐽/𝑚𝑜𝑙 • การลดอุณหภูม ิ 𝑁𝑂 ↓, 𝑁 𝐻 ↑, 𝐾 ลดลง
2𝑁𝑂 ↔ H𝑒𝑎𝑡 𝑁𝑂 ∆𝐻° 58.9 𝑘𝐽/𝑚𝑜𝑙

• การเพิม่ อุณหภูม ิ คือ การเพิม่ ความร้อน จะทําให้ปฏิกริ ยิ าดูดความร้อน


เกิดได้ดี (Endothermic reaction) เกิดการเปลีย่ นแปลงไปด้านหน้า
• การลดอุณหภูม ิ คือ การลดความร้อน จะทําให้ปฏิกริ ยิ าคายความร้อน
(Exothermic reaction) เกิดได้ดี เกิดการเปลีย่ นแปลงไปข้างหน้า Colder Hotter
63 64
𝑁𝑂 𝑁𝑂
ตัว อย่า ง
𝐶𝑜𝐶𝑙 𝑎𝑞 6𝐻 𝑂 𝑎𝑞 ↔ 𝐶𝑜 𝐻 𝑂 𝑎𝑞 4𝐶𝑙 𝑎𝑞
N2(g) + 3H2(g) 2NH3(g) N2O4(g) 2NO2(g)
H = -92 kJ H = +57.2 kJ

คายความร้อ น ดูด ความร้อ น


Hotter Colder

K K

• เมือ่ ลดอุณหภูม ิ จะเห็นสารละลายสีชมพูเข้มขึน้ ปฏิกริ ยิ าไปข้างหน้า


อุณหภูม ิ อุณหภูม ิ เป็ นแบบคายความร้อน
65 66

Le Châtelier’s Principle เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนแปลง ส่งผลให้ค่า K เปลี่ยนแปลงไปด้วย


• Change in Temperature จากสมการ
∆𝐺°
𝑙𝑛𝐾
𝑅𝑇
การรบกวน Exothermic Rx. Endothermic Rx. จาก ∆𝐺° ∆𝐻° 𝑇∆𝑆°
เพิม่ อุณหภูม ิ ลงลง เพิม่ ขึน้
ลดอุณหภูม ิ เพิม่ ขึน้ ลดลง แทนค่า

หรือ
Hotter Colder
[CoCl 4] 2- ion [Co(H2O)6] 2+ ion 67
สมมติว่า ที่อุณหภูมิ 𝑇 วัดค่าคงที่สมดุลได้ 𝐾 ถ้าอยากทราบค่า 𝐾 ที่อุณหภูมิ จะ ผลของตัว เร่งปฏิกิ ริ ย า (Catalyst)
คํานวณได้ ดังนี ้
• ตัว เร่งปฏิ กิ ริ ย า จะไปลดพลังงานกระตุน้ (Activated Energy, Ea) ทํา
∆𝐻° ∆𝑆 ° ∆𝐻° ∆𝑆 °
𝑙𝑛𝐾 𝑙𝑛𝐾 ให้ปฏิกริ ยิ าเกิดได้เร็วขึน้ โดยจะทําให้ปฏิกริ ยิ าไปข้างหน้าและย้อนกลับ
𝑅𝑇 𝑅 𝑅𝑇 𝑅
เกิดเร็วเท่ากัน ไม่ม ีผลต่อ ทิ ศ ทางและค่า คงที่ส มดุล
โดยทั่วไป ∆𝐻° และ ∆𝑆° เป็นค่าขึ้นกับอุณหภูมิ แต่ถ้าอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไปเพียง
เล็กน้อย (จาก 𝑇 ไปเป็น 𝑇 ) จะได้ว่า
∆𝐻° ≅ ∆𝐻° ∆𝐻° ∆𝑆 ° ≅ ∆𝑆 °

∆𝐻° 1 1
จะได้ 𝑙𝑛𝐾 𝑙𝑛𝐾
𝑅 𝑇 𝑇

หรือ 𝐾 ∆𝐻° 𝑇 𝑇
𝑙𝑛
𝐾 𝑅 𝑇𝑇
70

12. การประยุก ต์ใ ช้ส มดุล เคมี


• กระบวนการฮาร์เบอร์ (The Haber Process)
จงทํา นายทิ ศ ทางของปฏิ กิ ริ ย าต่อ ไปนี้ เมื่อ 𝑁 3𝐻 ↔ 2𝑁𝐻 ∆𝐻 92.6 𝑘𝐽/𝑚𝑜𝑙

การเปลี่ย นแปลง
เพิ่ม Heat (V คงที่)
ลด (T, V คงที่)
ลด P (T คงที่)
ลด (T, V คงที่)
เติม catalyst

71 72
การผลิ ต ฮีโมโกบิล เมื่อ เราต้อ งอยู่ใ นบริ เวณที่ส งู ๆ จากระดับนํ้า ทะเล
ตัว อย่า ง ถ้าต้องการให้ในกระบวนการผลิตเกิด NH3 มากขึน้ จะต้องทํา • การปี นขึน้ ยอดเขาสูง ทําให้เรารูส้ กึ มึนหัว อ่อนเพลีย ไม่สบาย เป็ น
อย่างไร อาการของ โรค Hypoxia เกิดจากการขาด O2
𝐻𝑏 𝑎𝑞 𝑂 𝑎𝑞 ↔ 𝐻𝑏𝑂 𝑎𝑞
วิ ธ ีทาํ
𝐻𝑏𝑂
𝐾
𝐻𝑏 𝑂

• เมือ่ ปริมาณ O2 ลดลง ปฏิกริ ยิ าเกิดแบบ


ย้อนกลับ ทําให้ปริมาณของ HbO2 ลดลง
ถ้าผ่านไป 2-3 weeks ร่างกายจะปรับ
สภาพ เกิดปฏิกริ ยิ าย้อนกลับ จะผลิต
73 HbO2 เพียงพอ 74

• สมดุล เคมีใ นสิ่ งแวดล้อ ม


• อินดิเคเตอร์สาํ หรับความชืน้ ในอากาศใช้ผลึกของโคบอลต์ (II) คลอไรด์
(Silica Gel) เป็ นของแข็ง ซึง่ เปลีย่ นสีได้โดยเกิดปฏิกริ ยิ าเคมีดงั นี้ สภาพความเป็ นกรดของนํ้าในสิง่ แวดล้อมทําให้เกิดปรากฏการณ์ต่างๆ
ในธรรมชาติ เช่น การเกิดหินงอก หินย้อย
[Co(H2O)6] Cl2(s) [Co(H2O)4] Cl2(s) + 2H2O(g)
CO2(g) + 2H2O(l) H3O+(aq) + HCO3-(aq)
สีชมพู สีน้ําเงิน CaCO3(s) + H3O+(aq) Ca2+(aq) + HCO3-(aq) + H2O(l)
CaCO3(s) + H2O(l) + CO2(g) Ca2+(aq) + 2HCO3-(aq)

ผลึกของสารนี้เปลีย่ นเป็ นสีน้ําเงิน


แสดงว่าอากาศชืน้ หรือแห้ง ???
75 76
แบบฝึกหัดท้ายบท
1. กําหนดปฏิกิริยาต่อไปนี้ที่สภาวะหนึ่ง และค่าคงที่สมดุล
𝐶𝑂 𝑔 𝐻 𝑂 𝑔 ↔ 𝐶𝑂 𝑔 𝐻 𝑔 𝐾 15.30
2𝐶𝑂 𝑔 ↔ 𝐶 𝑠 𝐶𝑂 𝑔 𝐾 1.20 10
𝐶 𝑠 𝐻 𝑂 𝑔 ↔ 𝐶𝑂 𝑔 𝐻 𝑔 𝐾 1.80 10
จงหาค่าคงที่สมดุลของ 𝐶 𝑠 𝐶𝑂 𝑔 ↔ 2𝐶𝑂 𝑔
2. สมดุลของ 2𝑃𝑏𝑂 𝑠 ↔ 2𝑃𝑏𝑂 𝑠 𝑂 𝑔 , ∆𝐻 400 𝑘𝐽
การรบกวน 𝑃𝑏𝑂 𝑠 𝑃𝑏𝑂 𝑠 𝑂 𝑔
เพิ่มอุณหภูมิ
ลดปริ มาตร
เติม 𝑂 𝑔
เติม 𝑃𝑏𝑂 𝑠
เติม 𝑃𝑏𝑂 𝑠

3. ที่สภาวะสมดุลของปฏิกิริยา 𝑁 𝑔 𝑂 𝑔 ↔ 2𝑁𝑂 𝑔 , 𝐾 0.10 พบว่า 𝑁 𝑂


0.07 𝑚𝑜𝑙/𝑑𝑚 และ 𝑁𝑂 0.22 𝑚𝑜𝑙/𝑑𝑚 เมื่อเพิ่มความเข้มข้นของ NO ที่สมดุลใหม่ (0.26
mol/dm3)

You might also like