You are on page 1of 27

การจัดเรียงอิเล็กตรอน

จากการศึกษาแบบจำลองอะตอม ทำให้ทราบว่าอะตอมประกอบด้วย
โปรตรอนและนิวตรอนที่อยู่รวมกันในนิวเคลียส โดยมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่
อยู่รอบ ๆ และอยู่ในระดับพลังงานต่างกัน ซึง่ สามารถจัดเรียงอิเล็กตรอนได้
3 แบบดังนี ้
1.การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับชัน

พลังงานหลัก
2.การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับชัน

พลังงานย่อย
2.1 การบรรจุอิเล็กตรอนลงในออร์บิทั ล
3.การจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบย่อ

1.การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับชัน
้ พลังงานหลัก

การจัดเรียงอิเล็กตรอนในแต่ละระดับพลังงานนัน
้ มีจำนวนอิเล็กตรอน
ได้มากที่สุดแต่ละระดับชัน
้ ไม่เท่ากันสามารถพิจารณาได้จากตารางดังนี ้
จากตาราง จะเห็นได้ว่าระดับพลังงานที่ 1 มีจำนวนอิเล็กตรอนได้มาก
ที่สุด 2 อิเล็กตรอน ระดับพลังงานที่ 2 มีจำนวนอิเล็กตรอนได้มากที่สุด 8
อิเล็กตรอน และจากการสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติม พบว่า ระดับพลังงานที่ 3 มีได้
มากที่สุด 18 อิเล็กตรอน ดังนัน
้ โบร์จึงเสนอแนวคิดว่า

“จำนวนอิเล็กตรอนที่อยู่ในแต่ละระดับชัน
้ พลังงานได้มีค่ามากที่สุด
เท่ากับ 2n2 (เมื่อ n คือระดับชัน
้ พลังงาน)”

การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับชัน
้ พลังงานหลัก สามารถแบ่งได้ ดังนี ้

ระดับพลังงาน n=1 จำนวน


อิเล็กตรอนที่บรรจุได้มากที่สุด คือ
2 อิเล็กตรอน
ระดับพลังงาน n=2 จำนวนอิเล็กตรอนที่บรรจุได้มากที่สุด คือ 8
อิเล็กตรอน

ระดับพลังงาน n=3 จำนวนอิเล็กตรอนที่บรรจุได้มากที่สุด คือ 18


อิเล็กตรอน

ระดับพลังงาน n=4 จำนวนอิเล็กตรอนที่บรรจุได้มากที่สุด คือ 32


อิเล็กตรอน

มาฝึ กจัดเรียงอิเล็กตรอนกันเถอะ!

การจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุที่มีเลขอะตอมมากกว่า 18 จะต้องจัด
เรียงในระดับชัน
้ พลังงานที่ 1 2 และ 3 เช่น ธาตุ K และ Ca ควรมีการ
19 20
จัดเรียงเป็ น 2 8 9 และ 2 8 10 เพราะชัน
้ ที่ 3 สามารถบรรจุอิเล็กตรอนได้
มากที่สุด 18 อิเล็กตรอน แต่จริงๆแล้ว การจัดเรียงอิเล็กตรอนของ 2 ธาตุนี ้
มีการจัดเรียงคือ
ธาตุ K มีเลขอะตอม 19 มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็ น 2 8 8 1
ธาตุ Ca มีเลขอะตอม 20 มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็ น 2 8 8 2
นั่นก็เพราะว่า เวเลนซ์อิเล็กตรอน สามารถมีได้ไม่เกิน 8 อิเล็กตรอน
เวเลนซ์อิเล็กตรอน (valance electron) คือ อิเล็กตรอนที่อยู่ที่ระดับ
พลังงานชัน
้ นอกสุด เช่น
B มีเลขอะตอมคือ 5 การจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบ 2 3 มีเวเลนซ์อิเล็กตรอน
เท่ากับ 3
N มีเลขอะตอมเท่ากับ 7 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
แบบ 2 5 มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 5
ดังนัน
้ K และ Ca จึงไม่สามารถจัดเรียงแบบ 2 8 9
และ 2 8 10 ได้ตามลำดับ เพราะว่ามีเวเลนซ์
อิเล็กตรอนเกิน 8 ดังนัน
้ จึงต้องจัดเรียง
อิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 3 เพียงแค่ 8 อิเล็กตรอน และเพิ่ม 1 กับ 2
อิเล็กตรอนเข้าไปในระดับชัน
้ พลังงานที่ 4

จำนวนระดับพลังงานหลักของอิเล็กตรอน ทำให้ทราบว่าธาตุนน
ั ้ อยู่
คาบใด ถ้าธาตุมีจำนวนระดับพลังงาน
ของอิเล็กตรอนเท่ากัน แสดงว่าธาตุนน
ั้
อยู่ในคาบเดียวกัน เช่น
Mg มีเลขอะตอม 12 มีการจัด
อิเล็กตรอนในระดับพลังงานดังนี ้ 2, 8, 2
Mg มี 3 ระดับพลังงาน
S มีเลขอะตอม 16 มีการจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานดังนี ้ 2, 8, 6 S มี
3 ระดับพลังงาน
แสดงว่า Mg และ S อยู่ในคาบเดียวกัน คือ คาบที่ 3

จำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอน หรืออิเล็กตรอนที่อยู่ในระดับพลังงานนอก
สุด ทำให้ทราบหมู่ของธาตุ ถ้าธาตุมีจำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากัน
แสดงว่าธาตุนน
ั ้ อยู่ในหมู่เดียวกัน เช่น

Na มีเลขอะตอม 11 มีการจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานดังนี ้ 2, 8, 1 Na
มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 1

K มีเลขอะตอม 19 มีการจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานดังนี ้ 2, 8,8, 1 K มี


เวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 1

แสดงว่า ธาตุ Na และ K อยู่ในหมู่เดียวกัน คือหมู่ 1

2.การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย

จากการเสนอแบบจำลองอะตอมของโบร์ที่ได้มีการศึกษาเกี่ยวกับ
สเปกตรัม ทำให้นักวิทยาศาสตร์หลายคนสนใจและศึกษามากขึน
้ พบว่าเส้น
สเปกตรัมของไฮโดรเจนที่เปล่งแสงออกมาและเห็นเป็ น 1 เส้น แท้จริงแล้ว
ประกอบด้วยเส้นสเปกตรัมมากกว่า 1 เส้น ซึ่งสรุปได้ว่า เส้นสเปกตรัมที่
เกิดขึน
้ นอกจากเป็ นการคายพลังงานของอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก
(principle energy level หรือ shell) ซึง่ แทนด้วย n แล้วยังเป็ นการคาย
พลังงานของอิเล็กตรอนจากระดับพลังงานย่อย (energy sublevel หรือ
subshell) ของแต่ละระดับพลังงานหลักอีกด้วย

สามารถสรุปได้ว่า

ระดับพลังงานหลักที่ 1 (n = 1) มี 1 ระดับพลังงานย่อย
คือ s

ระดับพลังงานหลักที่ 2 (n = 2) มี 2 ระดับพลังงานย่อย
คือ s p
ระดับพลังงานหลักที่ 3 (n = 3) มี 3 ระดับพลังงานย่อย
คือ s p d

ระดับพลังงานหลักที่ 4 (n = 4) มี 4 ระดับพลังงานย่อย
คือ s p d f

เนื่องจากอิเล็กตรอนมีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลาในลักษณะ 3 มิติ
การวัดความหนาแน่นของกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนนัน
้ จึงหาได้จากโอกาสใน
การพบอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่รอบนิวเคลียส โดยบริเวณที่อยู่ใกล้นิวเคลียส
จะมีโอกาสค้นพบอิเล็กตรอนได้มากที่สุด และมีพลังงานเฉพาะค่าที่แตกต่าง
กันไปเรียกบริเวณนัน
้ ว่า ออร์บิทัล (orbital)

จากศึกษาพบว่าจำนวนออร์บิทัลในแต่ละระดับพลังงานย่อยมีค่าแตก
ต่างกันซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี ้

ระดับพลังงานย่อย s มี 1 ออร์บิทัล ระดับพลังงานย่อย p


มี 3 ออร์บิทัล

ระดับพลังงานย่อย d มี 5 ออร์บิทัล ระดับพลังงานย่อย f


มี 7 ออร์บิทัล
โดยในแต่ละออร์บิทัล สามารถบรรจุอิเล็กตรอนได้ 2 อิเล็กตรอนและแต่ละ
ระดับ

พลังงานย่อย จะมีจำนวนออร์บิทัลที่แตกต่างกัน
หลักการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม

การจัดเรียงอิเล็กตรอนของอะตอมหนึ่ง ๆ ให้พิจารณาตาม หลักอาฟ


บาว (Aufbau principle) ซึ่งเกี่ยวข้องกับลำดับพลังงานของแต่ละออร์
บิทัล กล่าวคือการบรรจุอิเล็กตรอนต้องบรรจุในออร์บิทัล ที่มีพลังงานต่ำสุด

และว่างอยู่ก่อนเสมอ นั่นคือเริ่มจาก 1s 2s 2p 3s ... ตามลำดับ เพราะจะ


ทำให้พลังงานรวมทัง้ หมดมีค่าต่ำ ที่สุดและอะตอมมีความเสถียรที่สุด

จากแผนภาพสามารถเรียงลำดับพลังงานได้ดังนี ้
1s 2s 2p 3s 3p 4s 3d 4p 5s 4d 5p 6s 4f 5d 6p 7s 5f 6d
7p …

ตัวอย่างการจัดเรียงอิเล็กตรอนของไฮโดรเจน

มาฝึ กการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับชัน
้ พลังงานย่อยกันเถอะ!

อิเล็กตรอนที่อยู่ในระดับพลังงานหลักสูงสุดหรือชัน
้ นอกสุดของอะตอม
เรียกว่า เวเลนซ์อิเล็กตรอน (valence electron) เช่น ธาตุเบริลเลียม
(Be) มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็ น 1s² 2s² จึงมีจำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอน
เท่ากับ 2 ส่วนฟลูออรีน (F) มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็ น 1s² 2s² 2p5 จึง
มีจำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 7
การบรรจุอิเล็กตรอนตามลำดับระดับพลังงานโดยอาศัยแผนภาพตาม
หลักอาฟบาวดังที่กล่าวมาแล้ว มีบางธาตุที่การบรรจุอิเล็กตรอนในระดับ
พลังงานย่อยไม่เป็ นไปตามหลักการนัน
้ เช่น

ธาตุ Cr เลขอะตอม 24 แสดงการบรรจุอิเล็กตรอนใน ออร์


บิทัลต่าง ๆ ได้ดงั นี ้
6 6 5
1s² 2s² 2p 3s² 3p 4s¹ 3d
4
ไม่ใช่ 4s² 3d

ธาตุCu มีเลขอะตอม 29 แสดงการบรรจุอิเล็กตรอนในออร์บิทัลต่าง ๆ ได้


ดังนี ้
6 6 10 9
1s² 2s² 2p 3s² 3p 4s¹ 3d ไม่ใช่ 4s² 3d

ธาตุที่ได้รับหรือเสียอิเล็กตรอนสามารถเขียนการจัดเรียงอิเล็กตรอนได้ดังนี ้

1. กรณีที่ธาตุได้รับอิเล็กตรอน (ไอออนลบ) ให้บรรจุอิเล็กตรอนปกติรวมกับ


อิเล็กตรอนที่รับเข้ามาตามลำดับระดับพลังงานโดยอาศัยแผนภาพตามหลัก
อาฟบาว เช่น
3- 6
N : 1s² 2s² 2p³ N : 1s² 2s² 2p (รับเพิ่ม 3
อิเล็กตรอน)
- 6
Cl : 1s² 2s² 2p6 3s² 3p5 Cl : 1s² 2s² 2p6 3s² 3p
(รับเพิ่ม 1 อิเล็กตรอน)
2. กรณีที่ธาตุเสียอิเล็กตรอน (ไอออนบวก) ให้บรรจุอิเล็กตรอนตามปกติ
ก่อน จากนัน
้ จึงนำอิเล็กตรอนที่ อยู่ชน
ั ้ นอกสุดออก เช่น
3+ 6
Al : 1s² 2s² 2p6 3s² 3p¹ Al : 1s² 2s² 2p (เสีย
3 อิเล็กตรอน)
6 2+
Fe : 1s² 2s² 2p6 3s² 3p6 4s² 3d Fe : 1s² 2s² 2p6 3s²
6 6
3p 3d
3d4
ไม่ใช่ 1s² 2s² 2p6 3s² 3p6 4s² (เสีย 2 อิเล็กตรอน)

มาฝึ กการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับชัน
้ พลังงานกันเถอะ!
แบบฝึ กหัดที่ 2.3

การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักและระดับพลังงาน
ย่อย
1. พิจารณาข้อมูลที่กำหนดให้ในตาราง แล้วตอบคำถาม
ธาตุ เลขอะตอม การจัดเรียง
อิเล็กตรอน

A 11

B 20

C 2881

D 2 8 18 6
1.ธาตุใดบ้างที่อยู่ในหมู่เดียวกัน และอยู่ในหมู่ใด
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………….
2.ธาตุใดบ้างที่อยู่ในคาบเดียวกัน และอยู่ในคาบใด
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………….
3.ธาตุใดที่มีจำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนน้อยที่สุด และมีจำนวนเท่าใด
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………….

2. พิจารณาข้อมูลที่กำหนดให้ในตาราง แล้วตอบคำถาม

ธาตุ เลขมวล จำนวนนิวตรอน

A 20 10

B 9 4

C 39 20

D 32 16

1) จงเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุทงั ้ 4 ชนิด
……………………………………………………………………………………………
………………………………………….

2) จงเขียนการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยของธาตุทงั ้ 4
ชนิด

……………………………………………………………………………………………
………………………………………….

……………………………………………………………………………………………
………………………………………….

……………………………………………………………………………………………
………………………………………….

……………………………………………………………………………………………
………………………………………….
3) ธาตุใดบ้างที่อยู่หมู่เดียวกัน
……………………………………………………………………………………………
………………………………………….
4) ธาตุใดบ้างที่อยู่คาบเดียวกัน

……………………………………………………………………………………………
………………………………………….
การจัดเรียงอิเล็กตรอนลงแบบระดับพลังงานย่อย (Subshell)
สามารถแสดงเป็ นรูปแบบการบรรจุอิเล็กตรอนลงในออร์บิทัลได้อีกด้วย โดย
การบรรจุอิเล็กตรอนลงในออร์บิทัล มีหลักการจัดเรียง 3 หลักดังนี ้

1.หลักการกีดกันของเพาลี (Pauli exclusion principle)

2.หลักอาฟบาว (Aufbau principle)

3.กฎของฮุนด์ (Hund’s rule)

1.หลักการกีดกันของเพาลี (Pauli exclusion principle)

หลักการนีก
้ ล่าวว่า ในการจัดเรียงอิเล็กตรอนแต่ละออร์บิทัลนัน

สามารถจัดเรียงอิเล็กตรอนได้มากที่สุดเพียง 2 อิเล็กตรอนเท่านัน
้ และทัง้ 2
อิเล็กตรอนจะต้องมีสมบัติที่แตกต่างกัน คือ อิเล็กตรอนคู่นน
ั ้ ต้องมีทิศทาง
ของอิเล็กตรอนต่างกัน โดยถ้ามีอิเล็กตรอนตัวหนึ่งมีทิศทางขึน
้ แล้ว
อิเล็กตรอนอีกตัวหนึ่งต้องมีทิศทางลง

ออร์บิทัล สามารถเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์หลายรูปแบบ เช่น __


หรือ หรือ ถ้ากำหนดให้ ออร์บิทัลเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ __
การเขียนสัญลักษณ์แสดงอิเล็กตรอนจะสามารถเขียนได้ ดังนี ้
1. มี 1 อิเล็กตรอนในออร์บิทัล เรียกการจัดเรียงแบบนีว้ ่า อิเล็กตรอน
เดี่ยว โดยสามารถเขียนแสดงได้ ดังนี ้
2. มี 2 อิเล็กตรอนในออร์บิทัล เรียกการจัดเรียงแบบนีว้ ่า อิเล็กตรอน
คู่ โดยสามารถเขียนแสดงได้ดังนี ้

แต่หากจัดเรียงเป็ นรูปแบบที่อิเล็กตรอนมีทิศทางไปทางเดียวกัน จะไม่


สอดคล้องกับหลักการกีดกันของเพาลี ดังรูปแบบนี ้

2.หลักอาฟบาว (Aufbau principle)


หลักการนีก
้ ล่าวว่า การจัดเรียงอิเล็กตรอนลงในแต่ละออร์บิทัล จะ
ต้องจัดเรียงลงในออร์บิทัลที่มีพลังงานต่ำที่สุดก่อน แล้วจึงจัดเรียงลงในออร์

บิทัลถัดไปที่มีพลังงานสูงขึน

3.กฎของฮุนด์ (Hund’s rule)

กฎนีก
้ ล่าวว่า การบรรจุอิเล็กตรอนลงในออร์บิทัลที่มีระดับพลังงานเท่า
กัน จะต้องบรรจุอิเล็กตรอนให้อยู่ในลักษณะเดี่ยวให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้
เช่น มี 2 อิเล็กตรอนในระดับชัน
้ พลังงาน 2p การบรรจุอิเล็กตรอนที่ถูกต้อง
ตามกฎของฮุนด์เป็ นดังนี ้
มาฝึ กจัดเรียงอิเล็กตรอนลงออร์บิทัลกันเถอะ!

10Ne

16S

14Si

22Ti

การบรรจุอิเล็กตรอนแบบเต็มและแบบครึ่ง
การบรรจุอิเล็กตรอนจนเต็มทุกออร์บิทัลที่มีพลังงานเท่ากัน เรียกว่า
การบรรจุแบบเต็ม(full filled) ซึ่งจะส่งผลให้ออร์บิทัลนัน
้ มีความเสถียร
มากที่สุด และการบรรจุอิเล็กตรอนลงในออร์บิทัลที่ทำให้ออร์บิทัลมีความ
เสถียรรองลงมา คือ การบรรจุอิเล็กตรอนอยู่เพียงครึ่งเดียวเหมือนกัน
ทัง้ หมดในทุกออร์บิทัลที่มีพลังงานเท่ากัน ซึ่งเรียกการบรรจุแบบนีว้ ่า การ
บรรจุแบบครึ่ง (half filled)

3.การจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบย่อ
เมื่อมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนมากขึน
้ สามารถเขียนแบบย่อได้ โดย
เขียนธาตุหมู่ VIIIA แล้วตามด้วยจำนวนอิเล็กตรอนที่เหลือ โดยใช้สัญลักษณ์
[X] เมื่อ X คือธาตุในหมู่ VIIIA ที่มีเลขอะตอมไม่เกินธาตุที่ต้องการจัดเรียง
แบบย่อ เช่น
2 1
Li มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบระดับพลังงานย่อยคือ 1s 2s
1
สามารถจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบย่อได้เป็ น [He] 2s โดย He เป็ นธาตุหมู่
2
VIIIA ซึ่งมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็ น 1s
2 2 6
Na มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบระดับพลังงานย่อยคือ 1s 2s 2p
1 1
3s สามารถจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบย่อได้เป็ น [Ne] 3s โดย Ne เป็ นธาตุ
2 2 6
หมู่ VIIIA ซึ่งมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็ น 1s 2s 2p

2 2 6
Sc มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบระดับพลังงานย่อยคือ 1s 2s 2p
2 6 2 1
3s 3p 4s 3d
2 1
สามารถจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบย่อได้เป็ น [Ar] 4s 3d โดย Ar เป็ นธาตุ
2 2 6 2 6
หมู่ VIIIA ซึ่งมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็ น 1s 2s 2p 3s 3p

มาฝึ กจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบย่อกันเถอะ!

10Ne

16S

14Si
22Ti
แบบฝึ กหัดที่ 2.4
การจัดเรียงอิเล็กตรอนและการบรรจุอิเล็กตรอนลงในออร์บิทัล
1.จัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยและระดับพลังงานหลักของธาตุ
หรือไอออนที่กำหนดให้ต่อไปนี ้
ธาตุ/ การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ไอออน ระดับพลังงานย่อย ระดับพลังงานหลัก

33 As

19 K

2+
13Al

-
17Cl
-
16S

ธาตุ/ การจัดเรียงอิเล็กตรอน
- -
ไอออน การบรรจุ e ลงในออร์บิทัล การจัดเรียง e แบบย่อ

33 As

19 K
3+
13 Al

-
17Cl

-
16 S

จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด

1. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับชัน
้ พลังงานหลัก
ก. ระดับพลังงาน n=3 จำนวนอิเล็กตรอนที่บรรจุได้มากที่สุดคือ 18
อิเล็กตรอน
ข. เวเลนซ์อิเล็กตรอน คือ อิเล็กตรอนที่อยู่ในระดับชัน
้ แรกสุด
ค.โบรอน มีเลขอะตอม 5 มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนคือ 2 3
ง. ข้อ 1 และ ข้อ 3 ถูก
2.คลอรีน มีเลขอะตอม 17 มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่าใด
ก.1 ข. 3
ค.7 ง. 9

3. ธาตุ W, X, Y และ Z มีเลขอะตอม 12,17, 20 และ 35 ตามลำดับ ข้อใด


ต่อไปนี ้ ไม่ถูกต้อง
ก. ธาตุ W X Y อยู่ในคาบเดียวกัน ข. ธาตุ X และ Z อยู่ในหมู่
เดียวกัน
ค. ธาตุ Y มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 2 ง. ธาตุ Z มีการจัดเรียง
อิเล็กตรอนเป็ น 2 8 18 7

4. การจัดเรียงอิเล็กตรอนข้อใดต่อไปนี ้ ไม่ถูกต้อง
2 2  6 2 6 2 10 4 2 3
ก. 34Se : 1s  2s 2p  3s  3p  4s  3d  4p ข. 15P : [Ne] 3s  3p
2 6  1
ค. 20Ca : 2 8 8 2 ง. 19K : [Ar] 3s  3p 4s

5.ธาตุ A มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยที่มีเวเลนซ์
อิเล็กตรอนคือ 3s2 3p4 ธาตุ A อยู่ในหมู่และคาบใด
ก. หมู่ 6 คาบ 3 ข. หมู่ 3 คาบ 6
ค. หมู่ 4 คาบ 2 ง. หมู่ 2 คาบ 4

2 2 6 2 6 2 10 2
6. ธาตุ X มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็ น 1s 2s 2p 3s 3p 4s 3d 4p
ธาตุ X มีเลขอะตอมเท่าใด
ก. 22 ข. 30
ค.32 ง. 34
7. การบรรจุอิเล็กตรอนลงในออร์บิทัลข้อใดต่อไปนีไ้ ม่ถูกต้อง
ก. ข.

ค.
ง.

8.ธาตุ Y เป็ นธาตุที่อยู่ในหมู่ที่ 6 คาบที่ 3 ของตารางธาตุ ข้อใดคือการจัด


2-
เรียงอิเล็กตรอนของ Y
2 2 6 2 5
ก. 1s  2s  2p  3s  3p ข. 2 8 6
2 4 2 2 6 2 6
ค. [Ne] 3s  3p ง. 1s  2s  2p  3s  3p

You might also like