You are on page 1of 8

มคอ.

3
รายวิชา ภูมิปัญญาไทย
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
คณะ/ภาควิชา
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน

หมวดที่ 1 ลักษณะและข้อมูลโดยทั่วไปของรายวิชา
1. รหัสและชื่อรายวิชา
2532205 ชื่อวิชา ภูมิปัญญาไทย Thai Wisdom
2. จานวนหน่วยกิต
หน่วยกิต 3(3-0-6)
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
3.1 หลักสูตร
ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน
3.2 ประเภทของรายวิชา
หมวดวิชาเฉพาะด้าน
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
4.1 อาจารย์ผู้รับชอบรายวิชา
อาจารย์ธงชัย ศรีเมือง
4.2 อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ธงชัย ศรีเมือง
5. ภาคการศึกษา ชั้นปีที่เรียน
ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2558 นักศึกษาชั้นปีที่ 1 หมู่เรียน 58/36 , 58/37 และ 58/38
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre – requisites)
ไม่มี
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co – requisites)
ไม่มี
8. สถานที่เรียน
ห้องเรียน อาคาร HS 307
9. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชา ครั้งล่าสุด
19 พฤษภาคม 2549
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย และขอบข่ายของภูมิปัญญา
1.2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์การเกิดภูมิปัญญาได้
1.3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดเพื่อพัฒนาภูมิปัญญา

2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา
---

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ
1. คาอธิบายรายวิชา
ความหมาย ความสาคัญและพัฒนาการของภูมิปัญญาไทย ปัจจัยพื้นฐานและกระบวนการ
เรียนรู้ของภูมิปัญญา การจัดสาขาภูมิปัญญา ความสัมพันธ์ของภูมิปัญญา วิเคราะห์ภูมิปัญญา
ท้องถิ่นของแต่ละภูมิภาคของประเทศไทย การผสมผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นกับภูมิปัญญาสากล
ภูมิปัญญาไทยกับการพัฒนาชุมชน ปัญหา แนวทางส่งเสริมและคุ้มครองภูมิปัญญาไทย

2. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน การศึกษาด้วยตนเอง
45 ชั่วโมง - - 90 ชั่วโมง
3. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
2 ชั่วโมง/สัปดาห์ วันพุธ คาบที่ 4-5
หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
1. คุณธรรม จริยธรรม
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1. สังเกตความมีวินัย ได้แก่ เข้าชั้นเรียนสม่าเสมอและตรงเวลา ส่งงานที่มอบหมาย
ตามเวลาที่กาหนด
2. สังเกตความรับผิดชอบ ได้แก่ การเตรียมอุปกรณ์การเรียน
3. การแต่งกายที่ถูกต้องตามกาล เทศะ ประพฤติตนเป็นผู้มีวัฒนธรรมที่ดีงาม
4. ปฎิบัติให้ห่างไกลยาเสพติด เช่น การสูบบุหรี่
5. เป็นผู้มีมนุษยสัมพันธ์ เคารพความคิดเห็นของผู้อื่น เป็นผู้ส่งเสริมประชาธิปไตยในชั้น
เรียน
1.2 วิธีการสอน
- อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ให้ความสาคัญกับการมีวินัยเรื่องเวลา การเปิดโอกาสให้
นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา
1.3 วิธีการประเมินผล
- ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียนและในโอกาสที่สาขาวิชาฯ หรือคณะจัด
กิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม
- การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งงาน
2. ความรู้
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
- ความรู้และเข้าใจถึงความเกิด ความสาคัญ และการประยุกต์ภูมิปัญญาไปใช้
2.2 วิธีการสอน
- ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ได้แก่ กระบวนการสืบค้น (Inquiry Puprocess)
เน้นพฤติกรรมให้นักศึกษามีการศึกษาค้นคว้า การเรียนรู้กระบวนการ การตัดสินใจ ความคิด
สร้างสรรค์ โดยให้นักศึกษามีบทบาทในศึกษาค้นคว้า เพื่อสืบค้นข้อความรู้ด้วยตนเอง
- การศึกษาดูงาน ภูมิปัญญาท้องถิ่น
2.3 วิธีการประเมินผล
- การทางานส่วนบุคคล การร่วมอภิปราย สอบกลางภาค และปลายภาค
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
3.1.1 เชื่อมโยงความรู้ภาคทฤษฎีไปสู่การปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
3.2 วิธีการสอน
- การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping) เน้นพฤติกรรมให้นักศึกษามี
การ คิดการจัดระบบความคิด โดยให้นักศึกษามีบทบาทในจัดระบบความคิดของตนให้ชัดเจน
- มอบหมายงานรายบุคคล/กลุ่ม
3.3 วิธีการประเมินผล
- ประเมินจากการอธิบายและการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
- รายงานบุคคล/กลุ่ม
- การสอบข้อเขียนและสอบกลางภาค และปลายภาค
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
- มีความรับผิดชอบในการทางานที่ได้รับมอบหมายและร่วมแสดงความคิดเห็นได้อย่าง
เหมาะสม
- มีจิตสานึกและเป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี
4.2 วิธีการสอน
- การสอนแบบ Brain Storming Group เพื่อให้ผู้เรียนแสดงความเห็นในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
อย่างกว้างขวาง เป็นการระดมความเห็นของผู้เรียนให้มากที่สุด
- จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนที่นักศึกษามีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับนักศึกษาอื่น
และบุคคลภายนอก
- มอบหมายงานเป็นกลุ่มคณะเพื่อจัดกิจกรรม
4.3 วิธีการประเมินผล
- ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนโดยมีการแสดงคมคิดเห็น
- ประเมินความรับผิดชอบจากงานที่ได้รับมอบหมาย
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
- สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ในรูปแบบต่างๆ ได้
- พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทางานที่ได้รับ
มอบหมายและการนาเสนอหน้าชั้น
- สามารถค้นคว้าหาข้อมูล และติดตามการเปลี่ยนทางอินเทอร์เน็ตในทางวิชาการ
5.2 วิธีการสอน
- ใช้ PowerPoint ที่น่าสนใจ ชัดเจน ง่ายต่อการติดตามทาความเข้าใจ ประกอบการสอน
- การแนะนาเทคนิคการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
- การมอบหมายงานที่ต้องมีการนาเสนอ
5.3 วิธีการประเมินผล
- ประเมินทักษะการใช้ภาษาพูด เขียน การนาเสนอจากงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินรายงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
สัปดาห์ที่ เนื้อหา กิจกรรม สือ่
1 -3 แนะนาแผนการเรียนการสอน - แจกแนวการจัดการเรียนรู้ - ปากกา White Board
บทที่ 1 -ทาความเข้าใจและ - Power Point
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภูมิปัญญา แลกเปลี่ยนความคิดเห็น - แนวการจัดการเรียนรู้
เกี่ยวกับความเหมาะสมของ
ไทย
แนวการจัดการเรียน - Power point
- แบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้าภูมิ - ดูสื่อการสอน (VDC)
ปัญญาภูมิภาคต่างๆ ของ เรือ่ งภูมิปัญญาไทย
ไทย
-แบ่งกลุ่มเพื่อค้นหาภูมิ
ปัญญาจังหวัดนครปฐม
4-5 บทที่ 2 - บรรยายเนื้อหา - Power Point
กระบวนการเรียนรู้และการปรับตัว
- แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น
ของชาวบ้านไทย
- ทาแบบฝึกหัดทบทวน
6-7 บทที่ 3 - บรรยายเนื้อหา - Power Point
ภูมิปัญญาล้านนา
- แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น - ดูสื่อการสอน ปัญญา
ล้านนา
- ทาแบบฝึกหัดทบทวน
-สรุปความรู้ - กระดาษชาร์ท ปากกา
เมจิก
8 สอบกลางภาค 1 ชั่วโมง
ข้อสอบวัดและประเมินผลความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาไทย
9-10 บทที่ 4 - บรรยายเนื้อหา - Power Point
ภูมิปัญญาอีสาน
- แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น - ดูสื่อการสอน ปัญญา
- ทาแบบฝึกหัดทบทวน อีสาน
- กระดาษชาร์ท ปากกา
-สรุปความรู้
เมจิก
สัปดาห์ที่ เนื้อหา กิจกรรม สือ่
11-12 บทที่ 5 - บรรยายเนื้อหา - Power Point
ภูมิปัญญาภาคกลาง - แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น - ดูสื่อการสอน ปัญญา
ภาคกลาง
- ทาแบบฝึกหัดทบทวน
-สรุปความรู้ - กระดาษชาร์ท ปากกา
เมจิก

13-14 บทที่ 6 - บรรยายเนื้อหา - Power Point


ภูมิปัญญาทักษิณ
- แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น - ดูสื่อการสอน ปัญญา
ทักษิณ
- ทาแบบฝึกหัดทบทวน
- กระดาษชาร์ท ปากกา
-สรุปความรู้
เมจิก
15 บทที่ 7 ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่ม -อุปกรณ์การนาเสนอ ใน
ภูมิปัญญาในจังหวัดนครปฐม : นาเสนอข้อมูลภูมิปัญญาใน รูปแบบต่างๆ ตามความ
การพัฒนาท้องถิ่นที่ยั่งยืน จังหวัดนครปฐมตามที่ได้รับ เหมาะสมของแต่ละกลุ่ม
มอบหมายแบ่งกลุ่ม

16 บทที่ 8 บรรยายเนื้อหา - Power Point


การผสมผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นกับ
- แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น
ภูมิปัญญาสากล
- ทาแบบฝึกหัดทบทวน
-สรุปความรู้
17 สอบปลายภาค 1 ชั่วโมง
ข้อสอบวัดและประเมินผลความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาไทย

แผนการประเมินผลการเรี ยนรู้

กิจกรรมที่ ผลการเรี ยนรู้ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการ


ประเมิน
1 1.1 การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
2 2.1 สอบกลางภาค 8 20
สอบปลายภาค 17 30
3 1.1,2.1,3.1,4.1,4.1,5.1 แบบฝึกหัด 5,7,10,12,14,16 10
4 1.1,2.1,3.1,4.1,4.1,5.1 การทางานกลุ่ม 6,7,9,10,11,12,13,14,15 30
และผลงาน

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
หนังสือ ตารา และเอกสารประกอบการสอนหลัก
ธงชัย ศรีเมือง (2558). ภูมิปัญญาไทย. นครปฐมฯ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

2. หนังสือ เอกสาร และข้อมูลอ้างอิง ที่สาคัญ


ประเวศ วะสี. 2541. วิดิทรรศน์ ชุดโลกาภิวัตน์ 9 ยุทธศาสตร์ประเทศไทย 1999-2000 (วิธีบูรณา
การ : ทางออกทางภูมิปัญญา). สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยและมูลนิธิภูมิปัญญา,
กรุงเทพมหานคร.
ประเวศ วะสี. ยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ สังคม และศีลธรรม. สานักงาน
กองทุนเพื่อสังคม ธนาคารออมสิน, กรุงเทพมหานคร.
ประเวศ วะสี และคณะ. 2542. ข้อเสนอยุทธศาสตร์แก้วิกฤติชาติ. สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา,
กรุงเทพมหานคร.
สมพันธ์ เตชะอธิก และคณะ. 2544. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและเกษตรแบบยั่งยืน. โรง
พิมพ์คลังนานาวิทยา, ขอนแก่น.
เสรี พงศ์พิศ (2536). ภูมิปัญญาชาวบ้านกับการพัฒนาชนบท. กรุงเทพมหานคร:อมรินทร์พริ้นติ้ง
กรุ๊ป แอนด์ พับลิชชิ่ง.
เอกวิทย์ ณ ถลาง (2540). ภูมิปัญญาสี่ภาควิถีชีวิตและกระบวนการเรียนรู้ของชาวบ้าน
ไทย. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

3. หนังสือ เอกสาร และข้อมูลอ้างอิง ที่แนะนา


เอกวิทย์ ณ ถลาง (2540). ภูมิปัญญาสี่ภาควิถีชีวิตและกระบวนการเรียนรู้ของชาวบ้าน
ไทย. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา
1. การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาการโดยนักศึกษา
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและ
นอกห้องเรียน สื่อสนับสนุนและสิ่งอานวยความสะดวกในการจัดการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการ
เรียนรู้และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา
2. การประเมินการสอน
การประเมินการสอนโดยการสังเกตขณะสอนและการอภิปรายกับนักศึกษา ประเมินโดย
อาจารย์ที่สอนและนักศึกษา
3. การปรับปรุงการสอน
คณะกรรมการให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมิน
ประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทารายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กาหนดทุกภาคการศึกษา
สาขาวิชา มีการประชุมอาจารย์เพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
สาขาวิชาฯ มอบหมายคณาจารย์ ทาหน้าที่ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาใน
รายวิชาโดยการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน
ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขาวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
5. การดาเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน
หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์
การสอนที่ใช้ และนาเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
เพื่อนาเข้าที่ประชุมอาจารย์ ประจาหลักสูตรพิจารณาให้ ความคิดเห็ นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับ ปรุง
สาหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป

ลงชื่อผู้สอน...อาจารย์ธงชัย ศรีเมือง 21 ธ.ค.58

You might also like