You are on page 1of 11

สัปดาห์ที่ หน้าที่

เนื้อหาการสอน 7 1
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลสาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ความเค้ นความเครียด

บทนา
เมื่อมีแรงจากภายนอกมากระทาต่อชิ้นส่ วนขององค์อาคารหรื อชิ้นส่ วนของโครงสร้าง จะทาให้วสั ดุมีอนุภาค
เปลี่ยนไปจากเดิม โดยเฉพาะในเรื่ องของกลศาสตร์วสั ดุจะต้องมีการวิเคราะห์ความเค้น( Stress) และความเครี ยด
( Strain ) เนื่องจากแรงภายนอกเสมอ ประโยชน์ของการศึกษาบทนี้ สามารถนาไปออกแบบพื้นฐานได้(Basic of
design ) การหาค่าความปลอดภัย( Factor of Safety ) และการเปรี ยบเทียบวัสดุเหนียวกับวัสดุเปราะ เป็ นต้น

ความเค้ น ( Stress )
ความเค้ น หมายถึง แรงต้ านทานของวัสดุตอ่ หน่วยพื ้นที่ที่แรงกระทา หรื ออาจกล่าวอีกนัย
หนึง่ ว่า เป็ น “ กาลังภายในวัสดุ ” ที่มีคา่ เท่ากับแรงกระทาหารด้ วยพื ้นที่หน้ าตัดของวัสดุที่รับแรง สัญลักษณ์จะใช้
แทนด้ วย “ σ ” ศัพท์ทางวิชาการมักจะใช้ คาว่า “หน่วยแรง” ดังนันในบทนี้ ้หากกล่าวว่า
“หน่วยแรง” ก็ให้ เข้ าใจว่า “ ความเค้ น ” ด้ วยเช่นกัน ความเค้ นอยู่ 3 ชนิด คือ
1. ความเค้ นดึง
2. ความเค้ นอัด
3. ความเค้ นเฉือน
หน่วยของความเค้ นจะมีหน่วยเป็ น “ หน่วยน ้าหนักต่อแรงกระทา ” เช่น
lb
ระบบอังกฤษ จะใช้ หรื อ psi
in 2
แต่ในระบบ SI จะใช้ N/m2
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 7 2
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลสาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ความเค้ น ( Stress )
ถ้าพิจารณามวลของวัตถุชิ้นหนึ่ง ซึ่ งอยูภ่ ายใต้แรงภายนอกชุด P กระทาดังรู ปที่ 1.1 ก. ถ้าแรง
กระทาชุดนี้มีค่าไม่มากนัก มวลของวัตถุจะยืดออกเล็กน้อยแล้วไม่ยดื ต่อไปอีก สาหรับระนาบของหน้าตัดใดๆ
ของมวลวัตถุ ในรู ปที่ 1.2 ข. แรงภายนอกต่างๆ ที่มากระทา มวลวัตถุจะอยูใ่ นสภาวะสมดุลย์ได้ ก็ต่อเมื่อมีแรง
ต้านชุดหนึ่งซึ่ งเป็ นแรงสมดุลที่กระทาอยูภ่ ายในเนื้อวัตถุ ซึ่ งเรี ยกว่า แรงภายใน และจะกระจายไปตลอดภายใน
พื้นที่หน้าตัด แรงที่กระทากับอนุภาคเล็กๆ ในเนื้อวัตถุ หรื อความเข้มของแรงนั้น คือ แรงต่อพื้นที่หน้าตัด
ซึ่ งเรี ยกว่า ความเค้น (Stress ) ซึ่ งเกิดในมวลวัตถุน้ นั

รู ปที่ 1.1 มวลวัสดุ เมื่อมีแรงภายนอกมากระทา


สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 7 3
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลสาสตร์โครงสร้าง 1 วันที่ : 20 มิ.ย. 2548 เวลา :10.00-12.00น.
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
พิจารณาท่อนวัสดุ AB ในรู ปที่ 1.2 ที่ถูกกระทาด้วยแรงดงตามแนวแกน P ที่ปลายของวัสดุ โดยไม่คิดน้ าหนัก
ของวัสดุ แรง AB จะทาให้วสั ดุยดื ตัว และพยายามทาให้ขาดออกจากกัน (Rapture ) แต่ความพยายามนี้จะถูก
ต้านทานด้วยแรงภายในของวัสดุ

รู ปที่1.2 ท่อนวัสดุ ถูกกระทาด้วยแรงดึง

รู ปที่ 1.3 ภาพแสดงหน้าตัดวัสดุ


สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 7 4
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลสาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน

เพื่อที่จะมองเห็นภาพแรงภายในนี้ได้ชดั เจนมากยิง่ ขึ้น ลองตัดท่อนวัสดุที่หน้าตัดใดๆ แล้วพิจารณา


Free – body ของส่ วนล่างของท่อนวัสดุ (รู ปที่ 1.3 ) จะเห็นว่าการที่ส่วนนี้จะอยูใ่ นสภาวะสมดุลได้ ต้องมีแรง
ภายใน เนื่องจากอนุ ภาคที่อยูเ่ หนื อหน้าตัดขึ้นไปกระทากับส่ วนล่างของหน้าตัด เพื่อต้านกับแรงภายนอก P ที่หน้า
ตัดใดๆ แรงภายในนี้จะเกิดทุกๆ จุดบนหน้าตัด และถ้าการกระจายของแรงเหล่านี้สม่าเสมอทัว่ พื้นที่หน้าตัดแล้ว
แรงภายนอก ( P ) = แรงภายใน ( F ) = σA

ในที่น้ ี A คือพื้นที่หน้าตัดของวัสดุ และ σ = F / A เป็ นแรงภายในต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่เรี ยกว่า


แรงเค้ น ( Stress หรื อ Unit Stress ) มีหน่วยเป็ นปอนด์ต่อตารางนิ้ว หรื อนิ วตันต่อตารางเมตร
แรงภายใน F นี้บางครั้งเรี ยกว่า total stress หรื อ stress resultant มีหน่วยเป็ นปอนด์หรื อกิโลกรัมหรื อนิวตัน

โดยสรุ ปแล้ว ความเค้นคือ แรงต้านทานภายในของวัสดุที่พยายามต้านทานแรงภายนอกที่มากระทา


เพื่อไม่ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขนาดรู ปร่ างของวัสดุน้ นั แรงต้านทานภายในจะกระจายอย่างสม่าเสมอบน
พื้นที่หน้าตัดของวัสดุที่รับแรงนั้น หรื อแรงภายในต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ ที่วสั ดุต่อต้าน ( Internal Resisting Force )
แรงภายนอกที่มากระทาต่อวัสดุน้ นั โดยมีแรงรวมเท่ากับแรงภายนอกแต่มีทิศทางตรงกันข้าม และหน่วยของความ
เค้นนั้นคิดได้จากอัตราส่ วนของแรงที่กระทาภายนอกต่อหน่วยพื้นที่หน้าตัดขวางของวัสดุน้ นั นัน่ คือ จะมีหน่วย
เป็ น นิวตันต่อตารางเมตร กิโลกรัมต่อตารางมิลลิเมตร และปอนด์ต่อตารางนิ้ว เป็ นต้น ลักษณะของความเค้นที่
เกิดขึ้นนั้นที่ข้ ึนอยูก่ บั ลักษณะของแรงภายนอกที่มากระทา
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 7 5
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลสาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ความเค้ นดึง ( Tensile Stress )
เกิดขึ้นเมื่อวัสดุอยูภ่ ายใต้แรงดึงซึ่ งแนวแรงมีทิศทางตั้งฉากกับพื้นที่หน้าตัด ต่อพื้นที่หน้าตัดนั้น
ในสภาวะสมดุลย์พิจารณาในทิศทางตั้งฉากกับพื้นที่หน้าตัด
แรงภายใน = แรงภายนอก
 t  dA = dP

ผลรวมของแรงตลอดพื้นที่หน้าตัด
 t  dA =  dP
A

t  A = P
P
ดังนั้น t =
A

รู ปที่ 1.4 ท่อนวัสดุรับแรงดึง


สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 7 6
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลสาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ความเค้ นอัด ( Compression Stress )
เกิดขึ้นเมื่อวัสดุอยูภ่ ายใต้แรงอัด ซึ่ งแนวแรงมีทิศทางตั้งฉากกับพื้นที่หน้าตัด ต่อพื้นที่หน้าตัดนั้น
ในสภาวะสมดุลย์ พิจารณาในทิศทางตั้งฉากกับพื้นที่หน้าตัด
พิจารณาทานองเดียวกับความเค้นดึง
แรงภายใน = แรงภายนอก
 c  dA = dP

ผลรวมของแรงตลอดพื้นที่หน้าตัด
 c  dA =  dP
A

c  A = P
P
ดังนั้น c =
A

รู ปที่ 1.5 ท่อนวัสดุ รับแรงอัด


สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 7 7
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลสาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ความเค้ นเฉื อน ( Shear Stress )
เกิดขึ้นเมื่อวัสดุอยูภ่ ายใต้แรงเฉื อน ซึ่ งมีทิศทางขนานกับพื้นที่หน้าตัด ต่อพื้นที่หน้าตัดนั้น
พิจารณาเมื่อมีแรงภายนอกมากระทาต่อวัตถุ โดยพยายามทาให้วตั ถุขาดออกจากกันตามแนวระนาบที่ขนานกับ
ทิศทางของแรง จะเกิดแรงภายในต้านทานแรงภายนอกบนระนาบนั้นเราเรี ยกแรงภายในนี้วา่ แรงเฉื อน
( Shear Force ) เมื่อหารแรงนี้ดว้ ยพื้นที่หน้าตัดที่รับแรงหรื อต้านทานแรงนี้จะได้ค่า แรงเค้ นเฉื อน (Shear
Stress )
ในสภาวะสมดุลย์ พิจารณาในทิศทางขนานกับพื้นที่หน้าตัด
พิจารณาทานองเดียวกันกับความเค้นดึง จะได้ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นเฉื อนกับแรงเฉื อน
ดังนี้
V
 =
A
ค่าแรงเฉื อนที่คานวณได้น้ ี เป็ นเพียงค่าเฉลี่ยเท่านั้น ( โดยสมมติวา่ ค่าแรงเฉื อนกระจายอย่าง
สม่าเสมอทัว่ หน้าตัดที่รับแรง ) แต่ในความเป็ นจริ งแล้วการกระจายของแรงเฉื อนอาจจะดูอยากกว่านี้แล้วแต่
กรณี
ในกรณี ที่เป็ นที่แรงดึงและแรงอัด พื้นที่หน้าตัดที่รับแรงจะตั้งฉากกับทิศทางของแรง แต่ในกรณี
แรงเฉื อน พื้นที่หน้าตัดที่จะรับแรงจะขนานกับทิศทางของแรง

รู ปที่ 1.6 วัสดุ รับแรงเฉือน


สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 7 8
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลสาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ตัวอย่างที่ 1 แท่งเหล็กแท่งหนึ่ง เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.025 เมตร ยาว 0.03 เมตร มีแรง 1000N ดงตามแนวแกน
จงหา Tensile Unit Stress (  t ) ที่เกิดขึ้นในเหล็กนี้

1000N 1000N d= 0.025 m.

0.03 m.

P
วิธีทา จากสู ตร t =
A
โจทย์กาหนดให้ P = 1000 N
d 2
d = 0.025 ; A =
4
  0.025 2
=
4
= 0.00049 m.
P
แทนค่าในสู ตร t =
A
1000
t =
0.00049
= 2037183 N/m2
:: Tensile Unit Stress ที่เกิดขึ้นในเหล็กแท่งนี้เท่ากับ 2.03x 10 N/m2
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 7 9
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลสาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ตัวอย่างที่ 2 แท่งคอนกรี ตมีพ้นื ที่หน้าตัด 0.01ม2 และมีแรง 10000N อัดตามแนวแกน จงหา Compression Unit
Stress (  c ) ที่เกิดขึ้นในคอนกรี ต

10000 N

A= 0.01ม2

10000 N
วิธีทา
P
จากสู ตร  c =
A
โจทย์กาหนดให้; P = 10000 N
A = 0.01 m2
P
แทนค่าในสู ตร  c =
A
10000
=
0.01
= 1,000,000 N/m2
:: Compression Unit Stress ที่เกิดขึ้นในคอนกรี ตเท่ากับ 1 x 106 N/m2
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 7 10
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลสาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน

ตัวอย่างที่ 3จงหา Shear Unit Stress ที่เกิดขึ้นดังรู ป


800 N 800 N
0.125 m.

0.1 m.

800 N 800 N
รูปด้ านหน้ า รูปด้ านข้ าง
V
วิธีทา จากสู ตร  =
A
โจทย์กาหนดให้ P = 800 N
A = 0.1  0.125
= 0.0125 m2
V
แทนค่าในสู ตร  =
A
800
=
0.0125
= 64000 N/m2
:: Shearing Unit stress ที่เกิดขึ้นท่ากับ 6.4  104 N/m2
สัปดาห์ที่ หน้าที่
แบบฝึ กหัด 7 11
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลสาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
1. เหล็กเส้นหนึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.25 ม. ยาว 2 ม. มีแรงดึง 1500 นิวตันดังรู ป จงหา Tensile Unit Stress
(  t ) ที่เกิดขึ้น
1500 N

2 .00 m.  = 0.25 m.

1500 N
P
วิธีทา จากสู ตร t =
A
โจทย์กาหนดให้ P = 1500 N
 0.25 2
A =
4
= 0.049 m2
P
แทนค่าในสู ตร t =
A
1500
=
0.049
= 30612 N/m2
:: Tensile Unit Stress (  t ) ที่เกิดขึ้นเท่ากับ 3.06  104 N/m2

You might also like