You are on page 1of 23

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

รหัสวิชา ส ๑๕๑๐๑ สังคมศึกษาฯ กลุ่มสาระการเรียน


รู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕
เวลา ๔๐ ชั่วโมง

คำอธิบายรายวิชา
สังเกต ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ อภิปรายสนทนาซักถาม
แสดงความคิดเห็น รวบรวมข้อมูล สืบค้นข้อมูล สรุปใจความสำคัญเกี่ยว
กับเรื่องราวพื้นฐานเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ความสำคัญของศาสนา ศาสดา
และคัมภีร์ทางศาสนาที่ตนนับถือ หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือเพื่อ
เข้าใจในการพัฒนาตนและสังคม ความหมาย การบริหารจิต และเจริญ
ปั ญญา ชื่นชมการทำความดีของตนเองและบุคคลในสังคม และแนว
ปฏิบัติในการชื่นชม การทำความดีของบุคคลสำคัญกลุ่มเพื่อนประโยชน์
ของการบริหารจิตและเจริญปั ญญาของศาสนาที่ตนนับถือกระบวนการ
ประชาธิปไตยในการทำงานร่วมกันในครอบครัว โรงเรียน ชุมชน การ
ปฏิบัติตน ตามสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพในฐานะพลเมืองดีของประเทศ การ
ดำเนินชีวิต ความแตกต่างของวัฒนธรรมในกลุ่มคนในภูมิภาคการ
ปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็ นประมุข
โครงสร้างการปกครองประเทศซึ่งมีทั้งส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วน
ท้องถิ่น เพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างคนกับการปกครองประเทศ
ความสำคัญในกฎหมายในชีวิตประจำวัน หน้าที่ของผู้ผลิต และผู้บริโภค
ความหมายของระบบสินเชื่อ ผลดีผลเสียต่อภาวะ การเงินการเลือกของผู้
บริโภค ผลกระทบต่อทรัพยากรที่มีอยู่ ระบบสหกรณ์การบริหารทางด้าน
เศรษฐกิจ บทบาทการใช้เงินในท้องถิ่นการบริการต่างๆ ของธนาคารและ
สถาบันการเงินในต่างประเทศ ผู้บริโภคผู้ยืมและนักธุรกิจการจัดหา
แหล่งรายได้ของรัฐ ความเชี่ยวชาญ ชำนาญด้านจำนวนปริมาณสินค้า
รวมทั้งที่ผลิตการซื้อมาทางเศรษฐกิจการใช้แผนที่ในท้องถิ่นต่างๆ
ลักษณะความแตกต่าง ผลกระทบของสิ่งแวดล้อมทางสังคม วัฒนธรรม
วิถีชีวิตในภูมิภาคต่าง ๆ ของไทยกับสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ผลกระ
ทบจากการกระทำของมนุษย์ที่มีต่อสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ และรักษาสมดุลในระบบนิเวศน์โดยใช้กระบวนการ
ปฏิบัติ กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญ
สถานการณ์และแก้ปั ญหา
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนิน
ชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ
ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ รักความเป็ นไทย มีจิตสาธารณะ
สามารถดำเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทย และสังคมโลกสามารถนำ
ความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ส ๑.๑ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ , ป.๕/๕ , ป.๕/๖ ,
ป.๕/๗
ส ๑.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓
ส ๒.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓, ป. ๕/๔
ส ๒.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓
ส.๓.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓
ส ๓.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒
ส ๕.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓
ส ๕.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓
ตารางวิเคราะห์หลักสูตร เพื่อออกแบบการจัดการเรียนรู้ โรงเรียนบ้านห้วยสนุกสะพานทอง
ชื่อวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หัสวิชา ส 15101 ระดับชั้น ประถมศึกษาปี ที่ 5 ภาคเรียนที่ 1
ปี การศึกษา 2567
ครูผู้สอน นางสาวนภาพร สุภารี

สาระการเรียนรู้แกนกลาง/ท้องถิ่น/ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หน่วย
การบูรณา
การ
การความ
เรียนรู้ สมรรถนะ
สอดคล้อง
จุด ชิ้น เว สำคัญและ
กับผู้ สาระ วัดผล
ประสงค์ กระบวน งาน/ ลา ทักษะของ
มาตรฐาน ตัวชี้วัด เรียน/ การ ประเมิ
การเรียน การ ภาระ เรี ผู้เรียนใน
บริบท เรียนรู้ นผล
รู้ งาน ยน ศตวรรษที่
สถาน
21
ศึกษา/ท้อง
ถิ่น
ส.๓.๑ ส 3.1 1. นักเรียน ท้องถิ่น: หลักการ เทคนิค - ใบ - แบบ 2 สมรรถนะ
สาระการเรียนรู้แกนกลาง/ท้องถิ่น/ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หน่วย
การบูรณา
การ
การความ
เรียนรู้ สมรรถนะ
สอดคล้อง
จุด ชิ้น เว สำคัญและ
กับผู้ สาระ วัดผล
ประสงค์ กระบวน งาน/ ลา ทักษะของ
มาตรฐาน ตัวชี้วัด เรียน/ การ ประเมิ
การเรียน การ ภาระ เรี ผู้เรียนใน
บริบท เรียนรู้ นผล
รู้ งาน ยน ศตวรรษที่
สถาน
21
ศึกษา/ท้อง
ถิ่น
หน่วย เข้าใจและ ป.5/2 สามารถบอก โรงเรียน ปรัชญา การสอน กิจกร สังเกต ของผู้
หลักปรัชญา
การ สามารถ ประยุกต์ใช้ ครอบครัว ของ แบบสืบ รม พฤติกร เรียน
ของเศรษฐกิจ
เรียนรู้ บริหาร แนวคิดของ พอเพียงได้ นักเรียน เศรษฐกิ เสาะ เรื่อง รม 1.ความ
ที่ จัดการ ปรัชญาของ (K) ชุมชน จพอ หาความรู้ หลัก การ สามารถใน
1 2. นักเรียน
ทรัพยากร เศรษฐกิจ ปฏิบัติตน เพียง (5Es การ เรียน การสื่อสาร
สามารถร่วม
นวัต ในการผลิต พอเพียงใน ดำเนินไปใน การ Instructi ของ ราย 2. ความ
กันอภิปราย
สาระการเรียนรู้แกนกลาง/ท้องถิ่น/ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หน่วย
การบูรณา
การ
การความ
เรียนรู้ สมรรถนะ
สอดคล้อง
จุด ชิ้น เว สำคัญและ
กับผู้ สาระ วัดผล
ประสงค์ กระบวน งาน/ ลา ทักษะของ
มาตรฐาน ตัวชี้วัด เรียน/ การ ประเมิ
การเรียน การ ภาระ เรี ผู้เรียนใน
บริบท เรียนรู้ นผล
รู้ งาน ยน ศตวรรษที่
สถาน
21
ศึกษา/ท้อง
ถิ่น
วิถีสู่ และการ การทำ และลงข้อ ทางสาย ประยุกต์ onal เศรษฐ บุคคล สามารถใน
สรุปแนวคิด
เศรษฐ บริโภคการ กิจกรรม กลาง เพื่อ ใช้ Model) กิจ - แบบ การคิด
ของเศรษฐกิจ
กิจ ใช้ ต่าง ๆ ใน ได้ (K) ให้ก้าวหน้า ปรัชญา และ การ พอ ประเมิน 3.ความ
ชุมชน ทรัพยากรที่ ครอบครัว 3. นักเรียน ทันต่อโลก ของ เรียนรู้ เพียง การ สามารถใน
สามารถ
มีอยู่จำกัด โรงเรียน ยุคโลกาภิ เศรษฐกิ จากแนว -งาน นำเสนอ การใช้
อธิบายและ
ได้อย่างมี และชุมชน นำเสนอหลัก วัตน์ มีองค์ จพอ ปฏิบัติที่ดี กลุ่ม ผลงาน ทักษะชีวิต
สาระการเรียนรู้แกนกลาง/ท้องถิ่น/ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หน่วย
การบูรณา
การ
การความ
เรียนรู้ สมรรถนะ
สอดคล้อง
จุด ชิ้น เว สำคัญและ
กับผู้ สาระ วัดผล
ประสงค์ กระบวน งาน/ ลา ทักษะของ
มาตรฐาน ตัวชี้วัด เรียน/ การ ประเมิ
การเรียน การ ภาระ เรี ผู้เรียนใน
บริบท เรียนรู้ นผล
รู้ งาน ยน ศตวรรษที่
สถาน
21
ศึกษา/ท้อง
ถิ่น
ประสิทธิภา การของ ความรู้ เพียงใน จากชุมชน นำ - แบบ
แนวคิดของ
พและคุ้มค่า สามารถนำ กิจกรรม แห่งการ เสนอ ประเมิน
ปรัชญาของ
รวมทั้ง เศรษฐกิจพอ ไปประยุกต์ ต่าง ๆ เรียนรู้ทาง หน้า ใบงาน ทักษะของ
เข้าใจหลัก เพียงได้ (P) ใช้ในการแก้ ใน วิชาชีพ ชั้น ผู้เรียนใน
4. นำความรู้
การของ ปั ญหา ครอบครั โดยเน้นผู้ เรียน ศตวรรษที่
เรื่องแนวคิด
เศรษฐกิจ เศรษฐกิจพอ ชุมชน ว เรียนเป็ น - ใบ - แบบ 21
สาระการเรียนรู้แกนกลาง/ท้องถิ่น/ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หน่วย
การบูรณา
การ
การความ
เรียนรู้ สมรรถนะ
สอดคล้อง
จุด ชิ้น เว สำคัญและ
กับผู้ สาระ วัดผล
ประสงค์ กระบวน งาน/ ลา ทักษะของ
มาตรฐาน ตัวชี้วัด เรียน/ การ ประเมิ
การเรียน การ ภาระ เรี ผู้เรียนใน
บริบท เรียนรู้ นผล
รู้ งาน ยน ศตวรรษที่
สถาน
21
ศึกษา/ท้อง
ถิ่น
พอเพียง เพียงไป สังคมและ โรงเรียน สำคัญ ดั่ง งาน ประเมิน -ทักษะ
ประยุกต์ใช้ให้
เพื่อการ ประเทศ และ นี้ ที่2 พฤติกร ด้านการ
เกิดประโยชน์
ดำรงชีวิต ในชีวิต ชาติ ชุมชน 1. ขั้น เรื่อง รม คิดอย่างมี
อย่างมี ประจำวัน ปรัชญา เช่นการ สร้าง บัญชี การ วิจารณญา
ครอบครัว
ดุลยภาพ ของ ประหยัด ความ รายรับ ทำงาน ณ และ
และชุมชนได้
เช่น การทำ เศรษฐกิจ พลังงาน สนใจ ราย กลุ่ม ทักษะใน
สาระการเรียนรู้แกนกลาง/ท้องถิ่น/ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หน่วย
การบูรณา
การ
การความ
เรียนรู้ สมรรถนะ
สอดคล้อง
จุด ชิ้น เว สำคัญและ
กับผู้ สาระ วัดผล
ประสงค์ กระบวน งาน/ ลา ทักษะของ
มาตรฐาน ตัวชี้วัด เรียน/ การ ประเมิ
การเรียน การ ภาระ เรี ผู้เรียนใน
บริบท เรียนรู้ นผล
รู้ งาน ยน ศตวรรษที่
สถาน
21
ศึกษา/ท้อง
ถิ่น
บัญชีรายรับ พอเพียง:ผู้ และค่า (Engage จ่าย - แบบ การแก้
รายจ่าย (P)
เรียน มี ใช้จ่ายใน ment) ประเมิน ปั ญหา
5. นักเรียน
ใฝ่ เรียนรู้ มุ่ง ความพอ บ้าน 2. ขั้น คุณลักษ - ทักษะ
มั่นในการ ประมาณ มี โรงเรียน สำรวจ ณะ อัน ด้านความ
ทำงาน ความ
เหตุผล การ และค้นหา พึง ร่วมมือ
สามารถใน
การใช้ทักษะ และมี วางแผน (Explorat ประสง การทำงาน
สาระการเรียนรู้แกนกลาง/ท้องถิ่น/ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หน่วย
การบูรณา
การ
การความ
เรียนรู้ สมรรถนะ
สอดคล้อง
จุด ชิ้น เว สำคัญและ
กับผู้ สาระ วัดผล
ประสงค์ กระบวน งาน/ ลา ทักษะของ
มาตรฐาน ตัวชี้วัด เรียน/ การ ประเมิ
การเรียน การ ภาระ เรี ผู้เรียนใน
บริบท เรียนรู้ นผล
รู้ งาน ยน ศตวรรษที่
สถาน
21
ศึกษา/ท้อง
ถิ่น
ชีวิต อยู่อย่าง ภูมิคุ้มกันใน การผลิต ion) ค์ เป็ นทีม
พอเพียง (A)
ตัวที่ดีใน สินค้า 3.ขั้น - แบบ และภาวะ
6. นักเรียนมี
ความสามารถ การใช้ และ อธิบาย ประเมิน ผู้นำ
ในการสื่อสาร พลังงาน บริการ และลงข้อ สมรรถ - ทักษะ
ความสามารถ
วัสดุ เพื่อลด สรุป นะ ด้านการ
ในการคิดแก้
ปั ญหา และมี อุปกรณ์ (Explana สำคัญ ทักษะด้าน
สาระการเรียนรู้แกนกลาง/ท้องถิ่น/ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หน่วย
การบูรณา
การ
การความ
เรียนรู้ สมรรถนะ
สอดคล้อง
จุด ชิ้น เว สำคัญและ
กับผู้ สาระ วัดผล
ประสงค์ กระบวน งาน/ ลา ทักษะของ
มาตรฐาน ตัวชี้วัด เรียน/ การ ประเมิ
การเรียน การ ภาระ เรี ผู้เรียนใน
บริบท เรียนรู้ นผล
รู้ งาน ยน ศตวรรษที่
สถาน
21
ศึกษา/ท้อง
ถิ่น
ความสามารถ ต่างๆอย่าง tion) ของผู้ การสื่อสาร
ในการใช้
ประหยัด 4.ขั้น เรียน สารสนเทศ
ทักษะชีวิต
และคุ้มค่า ขยาย และรู้เท่า
และเกิด ความรู้ ทันสื่อ
ประโยชน์ (Elaborat
สูงสุด ion)
สาระการเรียนรู้แกนกลาง/ท้องถิ่น/ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หน่วย
การบูรณา
การ
การความ
เรียนรู้ สมรรถนะ
สอดคล้อง
จุด ชิ้น เว สำคัญและ
กับผู้ สาระ วัดผล
ประสงค์ กระบวน งาน/ ลา ทักษะของ
มาตรฐาน ตัวชี้วัด เรียน/ การ ประเมิ
การเรียน การ ภาระ เรี ผู้เรียนใน
บริบท เรียนรู้ นผล
รู้ งาน ยน ศตวรรษที่
สถาน
21
ศึกษา/ท้อง
ถิ่น
5.ขั้น
ประเมิน
(Evaluati
on)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12

สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชา


สังคมศึกษา รหัสวิชา ว 15101
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปี
การศึกษา 2566
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวพอเพียง
เวลา 60 นาที
ใช้สอนวันที่ ...... เดือน ............ พ.ศ. 2567 ครูผู้สอน นงสาวนภาพร
สุภารี
******************************************************
****************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส.3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการ
ผลิตและการบริโภคการใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำรง
ชีวิตอย่างมีดุลยภาพ

2. ตัวชี้วัดชั้นปี
ส 3.1 ป.5/2 ประยุกต์ใช้แนวคิดของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ในการทำกิจกรรม ต่าง ๆ ในครอบครัว โรงเรียนและชุมชน

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถบอกหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ (K)
2. นักเรียนสามารถร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปแนวคิดของ
เศรษฐกิจได้ (K)
3. นักเรียนสามารถอธิบายและนำเสนอหลักการของแนวคิดของ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ (P)
4. นำความรู้เรื่องแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ให้เกิด
ประโยชน์ในชีวิต
ประจำวัน ครอบครัว และชุมชนได้เช่น การทำบัญชีรายรับรายจ่าย (P)
5. นักเรียน ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน ความสามารถในการใช้
ทักษะชีวิต อยู่อย่างพอเพียง (A)
6. นักเรียนมีความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด
แก้ปั ญหา และมีความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
4. สาระสำคัญ
การจัดการทรัพยากรในการผลิตสินค้าและบริการ การใช้
ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพและ
คุ้มค่า การนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและสหกรณ์ไปใช้ในชีวิต
ประจำวัน เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ
5. สาระการเรียนรู้
แนวคิดของ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็ น แนวการดำรงอยู่
และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับ
ชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปใน
ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุค
โลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล
รวมถึงความจำเป็ นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อ
การกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะ
ต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งใน
การนำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการ ทุกขั้นตอน
โดยนักเรียนสามารถ
1. บอกแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง
2. นำความรู้เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ให้เกิดในชีวิต
ประจำวัน เช่น การ
ทำบัญชีรายรับรายจ่าย และนำหลักแนวคิดของปรัชญาของเศรษฐกิจพอ
เพียง มาลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ในครอบครัว
3. การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปั ญญาท้องถิ่นและ
ชุมชน
4.ตระหนักถึงการใช้ชีวิตแบบพอเพียงและเดินทางสายกลาง

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์  อยู่อย่างพอเพียง
 ซื่อสัตย์สุจริต  มุ่งมั่นในการทำงาน
 มีวินัย  รักความเป็ นไทย
 ใฝ่ เรียนรู้  มีจิตสาธารณะ

7. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
 ความสามารถในการสื่อสาร
 ความสามารถในการคิด
 ความสามารถในการแก้ปั ญหา
 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

8. จุดเน้นสู่การพัฒนาผู้เรียนและความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้
อื่น
ความสามารถและทักษะของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 (3Rs x
8Cs x 2Ls)
 R1– Reading (อ่านออก) R2– (W)Riting (เขียนได้) R3 –
(A)Rithmetics (คิดเลขเป็ น)
 C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทักษะด้าน
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
และทักษะในการแก้ปั ญหา)
 C2 - Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์
และนวัตกรรม)
 C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจ
ต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะ
ด้านความร่วมมือ การทำงานเป็ น
ทีม และภาวะผู้นำ)
 C5 – Communications, Information and Media Literacy
(ทักษะด้านการสื่อสาร
สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ)
 C6 - Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์
และเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร)
 C7 - Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะ
การเรียนรู้)
 C8 – Compassion (ความมีเมตตากรุณา วินัย คุณธรรม
จริยธรรม)
 L1 – Learning (ทักษะการเรียนรู้)
 L2 – Leadership (ทักษะความเป็ นผู้นำ)
 กลุ่มสาระการภาษาไทย
 ปรัชญาของเศรษกิจพอเพียง

9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เทคนิคการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
(5Es Instructional Model) โดยเน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ
ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ( 5E
Inquiry Process) ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้

กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การวัดผล


1) ขั้นสร้างความสนใจ 1. วีดิทัศน์เกี่ยว
(Engagement) กับ เรื่อง
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (10 นาที ) ครอบครัวพอ
ครูและนักเรียนสนทนาทักทาย เพียง
1.1) สนทนาเกี่ยวกับการใช้ชีวิต 2.บัตรคำ ความ
ประจำวัน ถามนักเรียนถึงสิ่งต่างๆ ที่ หมายของ
พบในชีวิตประจำวัน เพื่อให้นักเรียน เศรษฐกิจพอ
เตรียมพร้อมเข้าสู่บทเรียน เช่น เพียง
– นักเรียนมีการ ปลูกพืชผัก
และเลี้ยงสัตว์เศรษกิจ ชนิดใดบ้างที่
บ้าน
– นักเรียน นำพืชผัก และ
สัตว์เลี้ยง ไปสร้างรายได้ โดยวิธีการ
แบบใด
1.2) ครูผู้สอน ทบทวนความรู้
เดิม เรื่อง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง โดยการตั้งคำถาม
- คำว่าพอเพียง หมายถึง
อะไร
นักเรียน : หมายถึง
“พอมีพอ
กิน” คือ มีกิน มีใช้ไม่ฟุ่มเฟื อย ใช้จ่าย
อย่างประหยัด
- ครูอธิบายพฤติกรรม
ของ
ผู้บริโภคที่มีผลต่อการซื้อสินค้า และ
บริการเพื่อให้นักเรียนเข้าใจยิ่งขึ้น เพื่อ
เชี่ยมโยงสู่ ความรู้ใหม่
1.3) ครูให้ดูวีดิทัศน์เกี่ยวกับ
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
- สนทนาเกี่ยวกับ เรื่องที่ดู
ว่านักเรียน ได้แนวเจอแนวคิด ของ
เศรษฐกิจพอเพียง อย่างไรบ้าง
1.4) ครูผู้สอนให้นักเรียนนำ
ความหมายของ ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล และเงื่อนไข ความรู้ มา
ติด ให้ตรงกับ หัวข้อ 3 ห่วง 2 เงื่อนไข
กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การวัดผล
2) ขั้นสำรวจและค้นหา 1.ใบกิจกรรม
(Exploration) (25 นาที) เรื่อง ครอบครัว
2.1) ครูแจ้งจุดประสงค์การ พอเพียง
เรียนรู้ เรื่อง ครอบครัวพอเพียง 2.กระดาษบุ๊ค
2.2) ครูแบ่งกลุ่มให้นักเรียนเพื่อ สี
ให้แต่ละกลุ่มทำกิจกรรมกที่ 1 จาก
ชุดกิจกรรมที่ 2 เรื่อง หลักการของ
เศรษฐกิจพอเพียง โดยคละนักเรียนใน
กลุ่มเป็ น เก่ง กลาง อ่อน ออกเป็ น 2
กลุ่ม และชี้แจงอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำ
กิจกรรม
2.3) ครูชี้แจงถึงปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงว่ามีความสำคัญ
อย่างไรในชีวิตประจำวัน และสามารถ
นำไปประยุกต์ใช้ในครอบครัวได้
อย่างไรบ้าง
2.4) ครูผู้สอนให้ใบกิจกรรม
เรื่อง ครอบครัวพอเพียง และให้
นักเรียนช่วยกันระดมความคิดภายใน
กลุ่ม ถึงวิธีการใช้ชีวิตตามหลัก
เศรษฐกิจพอเพียงอย่างไรบ้าง จากใบ
กิจกรรม
- นักเรียนระดม ความคิด
เห็น อภิปรายกลุ่ม ลงข้อสรุป ใน
กระดาษที่ครูเตรียมให้
2.5 ระหว่างทำการทดลอง
ครูคอยแนะนำช่วยเหลือนักเรียนขณะ
ปฏิบัติกิจกรรม และเปิ ดโอกาสให้
นักเรียนทุกคนซักถามเมื่อมีปั ญหา
ช่วยแนะนำ อธิบาย เพิ่มเติมให้กับ
นักเรียน โดยครูเดินดูรอบๆ
ห้องเรียน
2.6 ครูและนักเรียนร่วมกัน
กันตรวจสอบความถูก ต้องของกิจกรร
มรรมเมื่อจบการทำกิจกรรม ให้
นักเรียนในกลุ่ม ร่วมแสดงความคิด
เห็น ตรวจสอบความถูกต้อง

3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
(Explanation) (10 นาที)
3.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มนำ
เสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้า
ห้องเรียน ในเรื่องการ นำหลัก
เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ใน
ด้านครอบครัวตัวแทน กลุ่มออกมานำ
เสนอหน้าชั้นเรียน เพื่อให้นักเรียนมี
ส่วนร่วมในชั้นเรียนและฝึ กความเป็ น
ผู้นำในการทำกิจกรรมหน้าชั้นเรียน
โดยมีครูเป็ นผู้เริ่มต้นในการทำภารกิจ
เพื่อช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความมั้น
ใจในการแสดงออกหน้าชั้นเรียน ให้
กำลังใจนักเรียนตัวแทนที่ออกมานำ
เสนอหน้าชั้น ด้วยคำชื่นชม และให้
กำลังใจ
3.2 ครูและนักเรียนร่วมกัน
อภิปรายผลและหาข้อสรุปจากการ
ปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้แนวคำถามที่
เชื่อมโยงกับชีวิตประจำวัน โดยคำนึง
ถึงการใช้ประโยชน์ เช่น โดยใช้คำถาม
แบบนำความรู้
- นักเรียนคิดว่าเราจะใช้
ชีวิต อย่างไรให้เกิดความพอเพียง

กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การวัดผล


4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 1.Power point
(10 นาที) การนำหลัก
ปรัชญาของ
ครูอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียน
เศรษฐกิจพอ
เข้าใจ โดยเชื่อมโยงเหตุการณ์ในชีวิต
เพียงไปประยุกต์
ประจำวัน การนำหลักปรัชญาของ
ใช้
เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้กับ ชุมชน และ
2.ใบงานที่ 2
ประเทศ โดย บัญชีรายรับ -
การนำแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง รายจ่าย
ไปใช้กับชุมชน สังคม เช่น การอยู่
ร่วมกันของคนในชุมชน สังคม การอยู่
ร่วมกับระบบนิเวศอย่างสมดุล มีการ
ทรัพยากรร่วมกัน มีการพึ่งพาอาศัย
ไม่ตระหนี่ เป็ นผู้ให้ เกื้อกูลแบ่งปั น
การนำแนวคิดเศรษฐกิจพอ
เพียงไปใช้กับประเทศชาติ เช่น กา
รามุ่งเน้นให้ผู้ผลิต หรือผู้บริโภค
พยายามเริ่มต้นผลิต หรือบริโภคภาย
ใต้ขอบเขต ข้อจำกัดของรายได้ หรือ
ทรัพยากรที่มีอยู่ไปก่อน ซึ่งก็คือ หลัก
ในการลดการพึ่งพา เพิ่มขีดความ
สามารถในการควบคุมการผลิตได้ด้วย
ตนเอง และลดภาวะการเสี่ยงจากการ
ไม่สามารถควบคุมระบบตลาดได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ
เศรษฐกิจพอเพียงมิใช่หมายความถึง
การกระเบียดกระเสียนจนเกินสมควร
หากแต่อาจฟุ่มเฟื อยได้เป็ นครั้งคราว
ตามอัตภาพ แต่คนส่วนใหญ่ของ
ประเทศ มักใช้จ่ายเกินตัว เกินฐานะที่
หามาได้
4.1 โดยครูอธิบายเพิ่มเติม
และเชื่อมโยงการเรียนรู้จากกิจกรรมที่
1 สู่ใบงานที่ 2 เรื่อง ครอบครัวพอ
เพียง ให้นักเรียนทำความเข้าใจและ
เปิ ดโอกาสให้นักเรียนได้สอบถาม
4.2 ครูมอบภาระให้กับ
นักเรียน เพื่อเชื่อมโยงความรู้จาก
กิจกรรมที่ 1 เรื่อง บัญชีรายรับ - ราย
จ่าย ให้นักเรียน ทำบัญชีรายรับ -
ราบจ่าย ของครอบครัวตนเอง เป็ น
เวลา 1 สัปดาห์ และให้นักเรียนสืบค้น
ข้อมูลและข้อดี ของการทำบัญชี
รายรับ – รายจ่าย มีประโยชน์กับ
ครอบครัว และตัวเองอย่างไร

กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การวัดผล


5) ขั้นประเมิน (Evaluation) 5 1 . Power
นาที point การนำ
หลักปรัชญาของ
(1) ครูนักเรียนร่วมกันประเมิน
เศรษฐกิจพอ
การปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปั ญหา
เพียงไปประยุกต์
หรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไข
ใช้
อย่างไรบ้าง
(2) ครูให้นักเรียนแต่ละคน
พิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและ
การปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่
เข้าใจหรือยังมีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วย
อธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดง
ความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับ
จากการปฏิบัติกิจกรรม และการนำ
ความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ชีวิตประจำ
วัน และการตอบแทนสังคมที่นักเรียน
จะนำความรู้ไปใช้ได้อย่างไร
10. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
10.1 สื่อการเรียนรู้
9.1.1 สื่อ ใบความรู้เรื่อง แนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ
เพียง
9.1.2 สื่อ ใบกิจกรรม เรื่อง ครอบครัวพอเพียง
9.1.3 สื่อ แผ่น Note ความหมายของเศรฐกิจพอเพียง
9.1.4 สื่อ Power point เรื่อง ครอบครัวพอเพียง
10.2 แหล่งเรียนรู้
ห้องเรียน

You might also like